ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25

Main Article Content

ยลลดา ทำมาน

Abstract

The purposes of this research were 1) to study the creative leadership level of school administrator 2) to study the professional learning community level of school 3) to study the relationship between creative leadership of school administrator and the professional learning community of school and 4) to create a forecasting equation of creative leadership of school administrator affecting professional learning community of school under the office of secondary education service area 25. The sample were 348 teachers, using stratified random sampling. The tool was a 5 level scale questionnaire on 5 factors: creative leadership level of school administrator, which was between .606 - .859, confidence value equal to .98, and the professional learning community of school which was between .476 - .838, confidence value at .94. Analysis of frequency, percentage, mean, standard deviation correlation coefficient and stepwise multiple regression analysis were used in this research. The results of the research were as follows: 1) Creative leadership factors of school administrator under the office of secondary education service area 25 at the high level; 2) The Professional learning community of school under the office of secondary education service area 25 at the high level; 3) Creative leadership of school administrator factors positively correlated which the professional learning community of school under the office of secondary education service area 25, which statistical significance at .01; 4) Creative leadership factors of school administrator factors creative (), being a person of change ), imagination () , and flexibility ) , were predictive variables, with the professional learning community of school under the office of secondary education service area 25, which could predict for 77.20 percent. Predictive equations below.


             Forecast equation in general score:


            = .954 + .604() + .153() + .067() + .066()       


            Equation in the standard score:


             = .669() +.217() + .090() + .085()


 


Keywords: Creative Leadership, Professional Learning Community

Article Details

Section
Research Article

References

กรองทิพย์ นาควิเชตร. (2552). ภาวะผู้นำสร้างสรรค์เพื่อการศึกษา. สมุทรปราการ: ธีรสาส์นพับลิวเซอร์ จำกัด.
กลิ่นนภาภร ปลัดกอง. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษากับการเป็นชุมชนแห่ง การเรียนรู้ของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดเลย. วารสารวิชาการวิทยาลัย สันตพล, 1(2), 22.
กิตติ์กาญจน์ ปฏิพันธ์. (2555). โมเดลสมการโครงสร้างภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษาอาชีวศึกษา. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (2553). การคิดเชิงสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ: บริษัทซัคเซส มีเดีย.
คุณาวุฒิ สิงห์ทอง. (2561). การพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของครู สำหรับสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20. (วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารและพัฒนาการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม).
จักรกฤษณ์ โพดาพล พระมหาสาคร ภัคดีนอกและพระมหาสมัย ผาสุโก. (2557). ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารเทศบาลตำบลในจังหวัดร้อยเอ็ด. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 19 กันยายน 2562, จาก http://www.mbuslc.ac.th
จาริณี สกุลจ้อย. (2556). ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อบรรยากาศของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาฉะเชิงเทรา เขต 2. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์).
ชาญณรงค์ พรรุ่งโรจน์. (2546). ความคิดสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชุลีพร เกลี้ยงสง และทวีวัฒน์ ปิตยานนท์. (2558). กลยุทธ์การพัฒนาวัฒนธรรมองค์กรเพื่อส่งเสริมการเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 5(1), 86 – 98.
ณรงค์ ขุ้มทอง. (2560). PLC มิติใหม่ นวัตกรรมเพื่อคุณภาพการศึกษาไทย. สืบค้นเมื่อ 19 กันยายน 2562, จาก https://www.matichon.co.th/columnists/news_484184.
ธีรยุทธ รุจาคม. (2561). การดำเนินงานชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ของครู โรงเรียนมัธยมศึกษาจังหวัดสมุทรปราการ กลุ่ม 2 สำนักงานเขตพื้นที่มัธยมศึกษา เขต 6. (วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษามหาวิทยาลัย พะเยา).
ธีระ รุญเจริญ. (2550). ความเป็นมืออาชีพในการจัดและบริหารการศึกษายุคปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพฯ: แอล. ที. เพลส. จำกัด.
ประชุมไพร ทองเมือง. (2557). ปัจจัยทางการบริหารที่ส่งผลต่อการเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี. (วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี).
พิมพ์อร สดเอี่ยม. (2561). ข้อเสนอแนวทางการขับเคลื่อนการเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จังหวัดเลย. วารสารการบริการการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2(3), 55–62.
วิจารณ์ พาณิช. (2555ข). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: ตถาตาพับลิเคชั่น.
สมหมาย อ่ำดอนกลอย. (2556). บทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 7(1), 1-8.
สมาน อัศวภูมิ. (2549). การบริหารการศึกษาสมัยใหม่. อุบลราชธานี: อุบลกิจออฟเซทการพิมพ์.
สวัสดิ์ กาญจนสุวรรณ. (2542). หลักการบริหารการศึกษา. สงขลา: คณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฏสงขลา.
สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา. (2555). รายงานการประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษา ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: สำนักงานฯ.
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 พ. ศ. 2560-2564. กรุงเทพฯ: สำนักงานฯ.
สุภาพ ฤทธิ์บำรุง. (2556). ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อความมีประสิทธิผลของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 30. (วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย,มหาวิทยาลัยขอนแก่น).
สุรพันธ์ ยันต์ทอง. (2533). การบริหารโรงเรียน นวัตกรรม เทคนิค ประสบการณ์. กรุงเทพฯ: หน่วยศึกษานิเทศก์ กรมการฝึกหัดครู.
เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์. (2549). ภาวะผู้นำ. ใน ประมวลสาระชุดวิชาทฤษฎีและแนวปฏิบัติในการบริหารการศึกษา หน่วยที่ 5. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขมัยธรรมาธิราช.
หวน พินธุพันธ์. (2548). การบริหารโรงเรียน. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
Argyris, C. (1993). Knowledge for action: A guide to overcoming barriers to organizational change. San Francisco: Jossey Bass.
Burns, D. D. (1978). Feeling good: The new mood therapy. New York: William Morrow.
Hord, S. M. (1997). Professional learning Communities: communities of continuous inquiry and improvement. Retrieved October, 20, 2016. from www.sedl.org/ siss/ plccredit.html.
Isaksen, S. G., & Dorval,K. B., & Treffinger, D. J. (2011). Creative approaches to problem solving : A framework for innovation and change. New York: Sage.
Torrance. P. E. (1962). Guiding of creative talent. New Jersey: Prentice – Hall Inc.