การประเมินความต้องการจำเป็นในการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาขอนแก่น

Main Article Content

ชีวิน อ่อนละออ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาและเปรียบเทียบสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาขอนแก่น 2) ศึกษาความต้องการจำเป็นในการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาขอนแก่น และ3) ศึกษาแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาขอนแก่น กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารและครูโรงเรียนมัธยมศึกษา ปีการศึกษา 2564 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาขอนแก่น  จำนวน 346 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้สถิติพื้นฐาน สถิติทดสอบที (t-test for dependent samples) และเทคนิคความต้องการจำเป็นแบบปรับปรุง (Modified Priority Need Index: PNI modified) วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาขอนแก่น โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง และระดับมาก ตามลำดับ 2. ความต้องการจำเป็นในการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาขอนแก่น โดยรวมมีความต้องการจำเป็นเร่งด่วน ((PNImodified = 0.34) เรียงตามลำดับ คือ การสร้างความร่วมมือ (PNImodified = 0.41) การคิดเปลี่ยนแปลงอย่างสร้างสรรค์ (PNImodified = 0.35) การมีวิสัยทัศน์ (PNImodified = 0.30) และความกล้าเสี่ยง (PNImodified = 0.29) 3.  แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาขอนแก่นที่สำคัญ ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาควรพิจารณาอย่างรอบคอบในการตัดสินใจในการปฏิบัติงาน, แสวงหาความรู้ใหม่ ๆ อยู่เสมอ, กำกับติดตามดูแลการปฏิบัติงานของครูอย่างต่อเนื่อง, และจัดกิจกรรมสะท้อนผล แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และประสบการณ์ในการปฏิบัติงานกับเพื่อนร่วมงาน

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กัญญา แช่มช้อย. (2555). แนวคิดเชิงนวัตกรรมสําหรับการบริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 14(2), 117-128.

คมศร วงษ์รักษา. (2540). การเปรียบเทียบคุณภาพและความสอดคล้องของเทคนิคการจัดเรียงลำดับความสำคัญที่อิงโมเดลความแตกต่างในการประเมินความต้องการจำเป็น. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จริยา เอียบสกุล. (2549). สภาพปัญหาและความต้องการจำเป็นในการฝึกอบรมเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนที่เน้นการสอนเป็นเรื่อง/เป็นชิ้นงาน/เป็นโครงการ ของครูช่างอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

เดชา ลุนาวงค์. (2564). โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารและพัฒนาการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎสกลนคร.

ธนัญชนก แสนจันทร์. (2563). แนวทางการส่งเสริมภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

ธมนวรรณ จันทร์สวย. (2564) ศึกษาภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรีเขต 2. การค้นคว้าอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.

ธมนวรรณ จันทร์สวย. (2564). ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต 2. การศึกษาค้นคว้าอิสระหลักปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.

ปาริฉัตร นวนทอง. (2565). ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาพัทลุง เขต 2. สารนิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.

เพ็ญนภา แสงแก้ว. (2565). การศึกษาภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มเครือข่ายสถานศึกษาเถิน 1 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 2. การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองหลักสูตรปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา.

เพ็ญนภา แสงแก้ว. (2565). การศึกษาภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษากลุ่มเครือข่ายสถานศึกษาเถิน 1 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลำปาง เขต 2. ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา.

ยินดี ฮานาฟี. (2562). แนวทางการส่งเสริมการมีภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมสำหรับครูโรงเรียนสามโคก สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดปทุมธานี. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ.

สัมฤทธิ์ กางเพ็ง. (2562). ภาวะผู้นำเชิงพุทธ. พิมพ์ครั้งที่ 3. มหาสารคาม: อภิชาติการพิมพ์.

สัมฤทธิ์ กางเพ็ง. (2557). ภาวะผู้นำแบบบริการ: แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 2. มหาสารคาม: อภิชาติการพิมพ์.

สัมฤทธิ์ กางเพ็ง. (2560). ภาวะผู้นำทางหลักสูตร: กลยุทธ์การพัฒนา และนำหลักสูตรไปใช้. พิมพ์ครั้งที่ 2. มหาสารคาม: อภิชาติการพิมพ์.

สัมฤทธิ์ กางเพ็ง. (2563). ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมในสถานศึกษา: กรอบแนวคิดและกระบวนการพัฒนา. ขอนแก่น: ครุศาสตร์ปัญญา.

สัมฤทธิ์ กางเพ็ง. (2565). การบริหารสถานศึกษาในสถานการณ์โควิด 19 ของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 1. ขอนแก่น: ครุศาสตร์ปัญญา.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาขอนแก่น. (2564). ข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษา ปีการศึกษา 2564. เอกสารหมายเลข 4/2564 กลุ่มนโยบายและแผน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาขอนแก่น.

สุธิดา สอนสืบ. (2565). โปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานีอำนาจเจริญ. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารและพัฒนาการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สุปิน ยุระรัช. (2554). การจัดระดับและการจัดอันดับความสำคัญของกิจกรรมการปรับปรุงคุณภาพที่จำเป็น ในสถาบันอุดมศึกษาเอกชนตามการรับรู้ของผู้ประเมินภายนอก. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีปทุม.

อนุสรา สุวรรณวงศ์. (2564). ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรม (Innovative Leadership). เข้าถึงได้จาก https://www.trueplookpanya.com/knowledge/content/52233/-edu-teaartedu-teaart-teaartdir.

อังคณา เติมวิถี. (2564). ความต้องการจำเป็นของภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของข้าราชการครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2. วิทยานิพนธ์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยครูสุริยเทพ.

Ailin, M., & Lindgren, P. (2008). Conceptualizing strategic innovation leadership for competitive survival and excellence. Journal of Knowledge Globalization, 1(2), 87–108.

Alibak M, Talebi H, Neshatdoost H. (2019). Development and Validation of a Test Anxiety Inventory for Online Learning Students. Journal of Educators, Online 2019; 16(2).

Bass, B. M., and Avolio, B. J. (1994). Improving organizational effectiveness through transformational leadership. Thousand Oaks, C.A.: Sage.

Bawuro, F.A., Danjuma, I., & Wajiga, H. (2018). Factors Influencing Innovative Behaviour of Teachers in Secondary Schools in the North East of Nigeria. Traektoriâ Nauki = Path of Science,4,1007-1017.

Campbell, S. & Samiec, E. (2005). 5-D Leadership: Key Dimensions for Leading in the Real World. Mountain View, California: Davies-Black.

Care E. (2018). Twenty-first century skills: From theory to action. In Assessment and Teaching of 21st Century Skills. Springer Cham 2018: 3-17.

Chongcharoen, K. (2018). Innovative Leadership: Developing School Principals for Thailand 4.0. Finland: Helsinki.

Collett, C., Graham, J., & Lindsay, J. (2019). Innovative leaders & leading innovation a theoretical & practical analysis: I Opener Institute for People & Performance. Oxford: United Kingdom.

Couros, G. (2019). Innovative leadership in education. https://georgecouros.ca/blog/archives/tag/innovative-leadership-in-education

Davidovich, R., Nikolay, P, and Laugerman, B. (2010). Beyond School Improvement: The Journey to Innovative Leadership. Thousand Oaks, CA: Corwin.

de Jong, J.P.J, & Den Hartog, D.N. (2007). How Leaders Influence Employees’ Innovative Behavior. European Journal of Innovation Management, 10(1), 41-64.

Dhammasuddho, P. A. (2016). Innovation leadership roles for the Sangha Administration Ministry in the next decade. Journal of MCU Peace Studies, 4(2), 313-325.

DuBrin, A. J. (2010). Principles of Leadership. 6th ed. Canada: South-Western, Cengage Learning.

DuBrin, Andrew J. (2010). Principles of Leadership. 6thed. South-Western: Cengage Learning.

Erdogen, M. (2010). Sustainability in higher education: A needs assessment on a course “Education and awareness for sustainability”. Asia-Pacific Forum on Science Learning and Teaching, 11(1), 1-20.

Ferdous, T. and Razzak, B.M. (2012). Importance of training needs assessment in the banking sector of Bangladesh: A case study on national bank limited (NBL). International Journal of Business and Management, 7(10), 63-73.

Ferdous, T. and Razzak, B.M. (2012). Importance of training needs assessment in the banking sector of Bangladesh: A case study on national bank limited (NBL). International Journal of Business and Management, 7(10), 63-73.

Fullan, M. (2004). Leading in a Culture of Change: Personal Action Guide and Workbook. San Francisco: Jossey-Bass.

Ghodang, H. (2021). The Effect of Innovative Leadership and Job Satisfaction on Teacher's Performance. International Journal of Education and Research, 9,39-52.

Gliddon, D. G. (2006). Forecasting a Competency Model for Innovation Leaders Using a Modified Delphi Technique. Doctoral Dissertation, The Pennsylvania State University.

Horth, D. M. and Vehar, J. (2012). Becoming a leader who fosters innovation. Baffles: Guildford & King.

Hughes, R.L; Ginnett, R.C; and Curphy, G.J. (2012). Leadership: Enhancing the Lessons of Experience. 7thed. New York: McGraw-Hill.

Krejcie, R.V. and Morgan, D.W. (1970). Determining Sample Size For Research Activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), 607- 610. https://home.kku.ac.th/sompong/guest_speaker/KrejcieandMorgan_article.pdf

Mrazek, P. (2021). Development of Innovative Leadership for School Administrators in Thailand 4.0 Era. Journal of Information and Learning, 32(3), 83-91.

Muchinsky, P.M. (2003). Psychology applied to work: an introduction to industrial and organizational psychology. 7thed. North Carolina: Thomson Wadsworth.

Nanthasri, T., Pengsawat, W., Chalakbang, W, & Satheannopakaow, P. (2019). The development of indicators on innovative leadership of school directors under Offices of Primary Education Service Areas in the Northeast of Thailand. Social Sciences Research and Academic Journal, 14(3), 93-106.

Northouse, P. G. (2012). Introduction to Leadership: Concepts and Practice. 2nd ed. Thousand Oaks, CA: Sage.

OECD. (2013). Leadership for 21st Century Learning. Educational Research and Innovation: OECD Publishing.

Polleys, M. S. (2002). One University’s Response to the Anti-leadership Vaccine: Developing Servant Leaders. Journal of Leadership Studies, 8(3), 117-130.

Poovorawan, Y. (2020). Educational Impact. Retrieved from learning. covid://learningcovid.ku.ac.th/course/?c=7&l=4

Praphanphat, J. (2017). A study of Innovative Leadership of School Administrators in the Opinions of the Teachers under the Supervision of Pathum Thani primary Educational Service area Office (Master’s thesis). Rajamangala University of Technology Thanyaburi, Pathum Thani.

Promsri, C. (2018). Leadership for Executives: Concepts, Theories and Cases. Bangkok: Samnak Phim Panyachon.

Reviere, R., Berkowitz, S., Carter, C.C., & Ferguson, C.G. (1996). Needs Assessment: A Creative and Practical Guide for Social Scientists. Washington, D.C.: Taylor & Francis.

Robbins, S. P., & Coulter, M. (2016). Management. (13th ed.). Pearson: Global Edition.

Saisirisuk, P. (2018). Innovative leadership of School Administrators of Panchaphaki School Cluster under the Secondary Educational Service Area Office 4 (Master’s thesis). Kasetsart University, Bangkok.

Thompson, A, ‎Barber,H.M., ‎and Cuseo, J.B. (2020). Implementing Innovative Leadership in an Inclusive Learning Environment. Kendall Hunt Publishing Company.

Vlok, A. (2012). International Conference on Leadership, Technology and Innovation Management. Retrieved December 25, 2016, from www.sciencedirect.com.

Weiss, S. D. and Legand, P. C. (2011). Innovative Intelligence. Ontario: John Wiley & Sons.

Witkin, B.R. (1984). Assessing Needs in Education and Social Program. San Francisco: Jossey-Bass Publishers.

Yukl, G. (2010). Leadership in Organizations. 7thed. New Jersey: Pearson.