https://so06.tci-thaijo.org/index.php/NSRU/issue/feed วารสารวิจัยและนวัตกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ เพื่อการพัฒนาท้องถิ่น 2014-12-09T13:58:36+07:00 Dr.Renoo YooChareon [email protected] Open Journal Systems <p>วารสารวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์เป็นวารสารวิจัยที่ได้จัดทำมาเป็นฉบับที่ 5 โดยวารสารฉบับแรกได้เริ่มจัดทำในปี พ.ศ. 2551 และฉบับที่ 2 ในปี พ.ศ.2554 ฉบับที่ 3-4 ในปี พ.ศ. 2555 และฉบับที่ 5 ในปี พ.ศ. 2556</p> https://so06.tci-thaijo.org/index.php/NSRU/article/view/25360 การรับรู้ผลิตภัณฑ์ไทยและประเทศในกลุ่ม AEC ของผู้บริโภคไทย 2014-12-09T13:58:33+07:00 ชวลิต พิณทอง [email protected] ศิวารัตน์ ณ ปทุม [email protected] ปริญ ลักษิตามาศ [email protected] <p>การวิจัยเรื่อง การรับรู้ผลิตภัณฑ์ไทยและประเทศในกลุ่มประชาคมอาเซียน (AEC) ของผู้บริโภคไทยมี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการรับรู้ด้านแหล่งผลิต คุณภาพ ความรู้สึกนึกคิด การตัดสินใจ สำหรับผลิตภัณฑ์ ไทยและประเทศในกลุ่มประเทศเศรษฐกิจอาเซียนของผู้บริโภคไทย โดยใช้แบบสอบถาม ซึ่งเก็บรวบรวมข้อมูล จากกลุ่มตัวอย่างผู้บริโภคไทย จำนวนทั้งสิ้น 882 คน การวิเคราะห์ข้อมูลครั้งนี้ได้ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทาง คณิตศาสตร์ โดยใช้ค่าสถิติอันได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน</p><p>ผลการวิจัยพบว่า ตัวอย่างผู้บริโภคไทยส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุ 31 ปีขึ้นไป มีรายได้ต่อเดือน มากกว่า 1 แสนบาท อาชีพไม่ใช่นักธุรกิจ แต่เคยมีประสบการณ์ใช้ผลิตภัณฑ์ AEC มีการรับรู้ผลิตภัณฑ์ไทย และประเทศในกลุ่ม AEC โดยรวมจัดอยู่ระดับมาก (  = 3.84/4.00) ซึ่งรับรู้มากในทุกๆด้านได้แก่ การรับรู้ใน แหล่งผลิต การรับรู้คุณภาพผลิตภัณฑ์ การรับรู้ทางความรู้สึกนึกคิด การรับรู้เพื่อตัดสินใจซื้อ ตามลำดับ</p><p> </p><p>The research study of “The Thai Product and AEC Countries’ Product Perception of Thai Consumer” The research objective is to study Thai consumer in perception levels of production sources, product quality, emotional feeling, and decision marketing for Thai product and AEC countries’ product. Questionnaire was used for data analysis of 882 Thai consumers by mathematic calculation. The statistical techniques of frequency, percentage, mean and standard deviation were used for research conclusion.</p><p>The research resulted the Thai consumer sampling mostly male, 31 years old of age and above, 100,000 baht salary per month had AEC product experienced. Moreover, The Thai product and among AEC perception overall at high level ( <img src="http://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{X}" alt="\bar{X}" align="absmiddle" /> = 3.84 on 4.00 scale) including other aspects of perception in production source, product quality, and emotional feeling decision making respectively.</p> Copyright (c) 2014 วารสารวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/NSRU/article/view/25362 การพัฒนาฐานความรู้อาเซียนไปใช้ส่งเสริมการเรียนการสอนอาเซียนศึกษา 2014-12-09T13:58:34+07:00 เยาวเรศ ภักดีจิตร [email protected] <p>การวิจัยเพื่อพัฒนาฐานความรู้อาเซียนไปใช้ส่งเสริมการเรียนการสอนอาเซียนศึกษามี วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อพัฒนาฐานความรู้อาเซียนเพื่อส่งเสริมการเรียนการสอนอาเซียนศึกษา และ 2. เพื่อศึกษาวิธีการ และผลการใช้ฐานความรู้อาเซียนเพื่อส่งเสริมการเรียนการสอนอาเซียนศึกษาโดยมีวิธีการดำเนินการวิจัย ดังรายละเอียด ดังนี้</p><p>กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นครูผู้สอน จำนวน 5 คนและนักเรียนที่กำลังศึกษาในรายวิชาอาเซียนศึกษา ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 โรงเรียนนครสวรรค์ 1 ห้องเรียน จำนวน 40 คน โรงเรียนบรรพตพิสัยพิทยาคม 1 ห้องเรียน จำนวน 40 คน โรงเรียนไพศาลีพิทยา 1 ห้องเรียน จำนวน 40 คน และโรงเรียนอุทัยธานีวิทยาคม 1 ห้องเรียน จำนวน 40 คน และโรงเรียนหนองฉางวิทยา 1 ห้องเรียน จำนวน 40 คนทั้งสิ้น 205 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi - Stage Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1.แบบสอบถามเกี่ยวกับหัวข้อ เนื้อหาและสิ่งที่ควรบรรจุไว้ ในฐานความรู้อาเซียน 2. แบบประเมินคุณภาพฐานความรู้อาเซียน 3. ฐานความรู้อาเซียน และ 4. แบบสอบถามความคิดเห็นวิธีการและผลการใช้ฐานความรู้อาเซียนไปใช้ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนอาเซียนศึกษา และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน</p><p><strong>ผลการวิจัย</strong><strong></strong></p><p>1) ได้ฐานความรู้อาเซียนไปใช้ส่งเสริมการเรียนการสอนอาเซียนศึกษา ที่เกิดจากการสำรวจความต้องการด้านเนื้อของครูผู้สอนและนักเรียน แล้วนำมาประมวลผลการสืบค้นข้อมูล การออกแบบโครงสร้าง จัดทำสคริปต์สตอรี่บอร์ดและเว็บไซต์ที่ผ่านการตรวจสอบปรับปรุงทุกขั้นตอนจนมีคุณภาพ</p><p>2) ผลการศึกษาวิธีการและผลการใช้ฐานความรู้อาเซียนไปใช้ส่งเสริมการเรียนการสอนอาเซียนศึกษาพบว่า มีการใช้งานที่สอดคล้องกันระหว่างครูผู้สอนและนักเรียน คือ วิธีการใช้ที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ใช้เป็นแหล่งศึกษาค้นคว้าสำหรับตัวท่านเองในขณะที่นักเรียนใช้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองตามความสนใจ</p><p>3.ครูมีความพึงพอใจต่อผลการใช้ฐานความรู้อาเซียนไปใช้ส่งเสริมการเรียนการสอนอาเซียนศึกษาโดย ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( <img src="http://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{X}" alt="\bar{X}" align="absmiddle" /><em> </em>= 4.18 , S.D = 0.64) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ปรากฏว่าด้านที่มีความพึงพอใจมีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านเนื้อหา ( <img src="http://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{X}" alt="\bar{X}" align="absmiddle" /><em> </em>= 4.74 , S.D = 0.37) รองลงมือคือ ด้านการจัดการเรียนการสอน( <img src="http://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{X}" alt="\bar{X}" align="absmiddle" /><em> </em>=4.17, S.D = 0.73) และด้านที่มีความพึงพอใจมีค่าเฉลี่ยน้อยสุด คือ ด้านรูปแบบการนำเสนอ( <img src="http://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{X}" alt="\bar{X}" align="absmiddle" /><em> </em>= 3.65, S.D =0.82)</p><p>4.นักเรียนมีความพึงพอใจต่อผลการใช้ฐานความรู้อาเซียนไปใช้ส่งเสริมการเรียนการสอนอาเซียนศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( <img src="http://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{X}" alt="\bar{X}" align="absmiddle" /><em> </em>= 3.91, S.D = 0.75) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ปรากฏว่าด้านที่มีความพึงพอใจ 13 มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านเนื้อหา ( <img src="http://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{X}" alt="\bar{X}" align="absmiddle" /><em> </em>= 4.24, S.D = 0.65) รองลงมือคือ ด้านรูปแบบการนำเสนอ ( <img src="http://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{X}" alt="\bar{X}" align="absmiddle" /><em> </em>= 3.81,S.D = 0.75) และด้านที่มีความพึงพอใจมีค่าเฉลี่ยน้อยสุด คือ ด้านการเรียน ( <img src="http://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{X}" alt="\bar{X}" align="absmiddle" /><em> </em>= 3.68, S.D = 0.87)</p><p> </p><p>Research to develop the knowledge base to promote the teaching of ASEAN, ASEAN study. Research objectives 1. ASEAN to further develop the knowledge base for teaching Asian studies. And 2. Study methods and the use of knowledge to promote teaching ASEAN ASEAN is how to conduct research. The details are as follows:</p><p>The sample used in this research. Number 5 is a teacher and students who are studying in ASEAN Studies Course. In Semester 1 Year 2556 Nakhon Sawan schools 1classroom of 40 students Banphotphisaiphittayakom school 1 class of 40 students Phaisalee school 1 classes of 40 students and <em>Uthaiwittayakhom school </em>1 class of 40 students and Nongchangwittaya school 1 class of 40 students was 205 people, which is derived from multi-stage sampling. Tool used in this research were: 1. query about the topic. Content and what should be included. ASEAN in the knowledge base. 2 Quality Knowledge Base ASEAN. 3 ASEAN Knowledge Base and 4. Questionnaire method and the use of knowledge to promote ASEAN ASEAN teaching. And analyzed by frequency, percentage, mean and standard deviation.</p><p>The results of this research are :</p><p>1) Knowledge Base ASEAN to promote teaching ASEAN. The meat of the survey needs of teachers and students. Then the search process Structural design prepared script, storyboards and the website verified the quality improvement process.</p><p>2) Study methods and the use of knowledge-ASEAN to promote teaching ASEAN showed that the consistency between teachers and students is how to use the most average used as research for yourself while students used to study by themselves according to their interests.</p><p>3) Teachers are satisfied with the results of the knowledge base to promote ASEAN, ASEAN Education Teaching overall is good ( <img src="http://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{X}" alt="\bar{X}" align="absmiddle" /><em> </em>= 4.18, S.D = 0.64) at the high side. It appears that the side with the most satisfaction, with an average content ( <img src="http://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{X}" alt="\bar{X}" align="absmiddle" /><em> </em>= 4.74, S.D = 0.37) and embarked on a management course ( <img src="http://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{X}" alt="\bar{X}" align="absmiddle" /><em> </em>= 4.17, S.D = 0.73) and to be satisfied with an average minimum the presentation format ( <img src="http://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{X}" alt="\bar{X}" align="absmiddle" /><em> </em>= 3.65, S.D = 0.82).</p><p>4) The students were satisfied with the results of the use of knowledge to promote ASEAN, ASEAN Education Teaching overall is good ( <img src="http://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{X}" alt="\bar{X}" align="absmiddle" /><em> </em>= 3.91 ,S.D = 0.75) at the high side. It appears that the sides were satisfied with most average is the content ( <img src="http://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{X}" alt="\bar{X}" align="absmiddle" /><em> </em>= 4.24, S.D = 0.65) the secondary action is the presentation format ( <img src="http://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{X}" alt="\bar{X}" align="absmiddle" /><em> </em>= 3.81, S.D = 0.75) and with satisfaction an average minimum academic ( <img src="http://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{X}" alt="\bar{X}" align="absmiddle" /><em> </em>= 3.68, S.D = 0.87).</p> Copyright (c) 2014 วารสารวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/NSRU/article/view/25363 การศึกษาการพัฒนาทักษะการออกแบบกราฟิกหน้ากากผีตาโขนของนักศึกษาสาขาวิชาดิจิตอลอาร์ต ภาควิชามนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย 2014-12-09T13:58:34+07:00 อิสริยาภรณ์ ชัยกุหลาบ [email protected] <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการพัฒนาทักษะการออกแบบกราฟิกหน้ากาก ผีตาโขนของ นักศึกษาสาขาวิชาดิจิตอลอาร์ต ภาควิชามนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย 2) ศึกษาความพึงพอใจต่อการพัฒนา ทักษะการออกแบบกราฟิกหน้ากากผีตาโขนของนักศึกษาสาขาวิชาดิจิตอลอาร์ต ภาควิชามนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัย ราชภัฏเลย เป็นวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาสาขาวิชาดิจิตอลอาร์ต ชั้นปีที่ 1 ปีการศึกษา 2555 จำนวน 26 คน ใช้การเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า คือ 1) แบบสอบถามการพัฒนาทักษะการออกแบบกราฟิกหน้ากากผีตาโขนของนักศึกษาสาขาวิชาดิจิตอลอาร์ต ภาควิชามนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .95 2) แบบสอบถามความพึงพอใจ ของนักศึกษาต่อการพัฒนาทักษะการออกแบบกราฟิกหน้ากากผีตาโขนของนักศึกษาสาขาวิชาดิจิตอลอาร์ต ภาควิชา มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ .97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน</p><p>ผลการวิจัยพบว่า</p><p>1. การพัฒนาทักษะการออกแบบกราฟิกหน้ากากผีตาโขนของนักศึกษาสาขาวิชาดิจิตอลอาร์ต ภาควิชามนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย โดยภาพรวมและรายด้าน อยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านผลงานการ ออกแบบ ด้านความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้โปรแกรม ด้านกระบวนการเรียนรู้นำไปใช้ ด้านกระบวนการ ทำงานด้านความคิดสร้างสรรค์ และด้านเนื้อหาการเรียนรู้การออกแบบกราฟิก ตามลำดับ</p><p>2. ความพึงพอใจต่อการพัฒนาทักษะการออกแบบกราฟิกหน้ากากผีตาโขนของนักศึกษาสาขาวิชา ดิจิตอลอาร์ต ภาควิชามนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย โดยภาพรวม และรายด้านอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านกระบวนการสอน ด้านบรรยากาศการเรียนรู้ ด้านผู้สอนและสื่อและอุปกรณ์สำหรับการทำงาน ตามลำดับ</p><p> </p><p>The purposes of research were to study 1) Development skills of phitakhon mask graphic design of digital art program students in the Department of Humanities, Loei Rajabhat University. 2)Satisfaction of phitakhon mask graphic design of digital art program students in the Department of Humanities, Loei Rajabhat University.This is quantitative research using a sample group of 26 digital art program students from the Department of Humanities, Loei Rajabhat University during the academic year 2012. The sample group was selected using purposive sampling. Research tools were a rating scale of the development of skills during phitakhon mask graphic design of digital art program students in the Department of Humanities, Loei Rajabhat University, and a separate rating scale of the students’ satisfaction with this learning activity. The reliability value for the development skills research tool was calculated at .95 and for the satisfaction research tool, the reliability value was .97. Statistics used during analysis of quantitative data were percentage, mean, and standard deviation.</p><p><strong>The research findings :</strong> Skill development of digital art program students was ranked high in all areas. Ranked from highest to lowest these were: result of design, knowledge program, learning approach, creativity development skills, contents of using knowledge, and graphic design. Similarly, satisfaction was also ranked high in all areas, ranked highest to lowest as follows: teaching development skills, learning climate, instructor and learning material.</p> Copyright (c) 2014 วารสารวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/NSRU/article/view/25364 ปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อบ้านเดี่ยวในโครงการบ้านจัดสรร ในเขตอำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 2014-12-09T13:58:35+07:00 ชนัญชิดา วงศ์รักเกาะ [email protected] <p>การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อ บ้านเดี่ยวในโครงการบ้านจัดสรร ในเขตอำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 2) เพื่อเปรียบเทียบปัจจัยส่วนประสม การตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อบ้านเดี่ยวในโครงการบ้านจัดสรร ในเขตอำเภอหัวหิน จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ 3) เพื่อศึกษาแนวทางพัฒนาปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อบ้านเดี่ยว ในโครงการบ้านจัดสรร ในเขตอำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์</p><p>ผลการศึกษาพบว่า 1) ปัจจัยส่วนประสมการตลาดมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อบ้านเดี่ยวในโครงการ บ้านจัดสรร ในเขตอำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์โดยรวมอยู่ในระดับสูง 2) ปัจจัยส่วนบุคคลด้าน เพศ อายุ สถานภาพ การศึกษาและรายได้ต่อเดือน มีผลต่อปัจจัยส่วนประสมการตลาดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) พฤติกรรมการซื้อบ้านเดี่ยวในโครงการบ้านจัดสรรส่วนใหญ่จะคำนึงถึงความปลอดภัยมากที่สุด รองลงมา ใช้เป็นที่อยู่อาศัยและเพื่อบอกถึงสถานะความน่าเชื่อถือ ดังนั้น ควรมีการพัฒนาปัจจัยส่วนประสมการตลาดให้ สอดคล้องกับความต้องการของผู้ซื้อ</p><p> </p><p>Objectives for study this research: 1) To study marketing mix factors influencing the consumer buying behavior of single unit house in Hua-Hin District, Prachuapkhirikhan Province 2) To compare marketing mix factors influencing the consumer buying behavior of single unit house in Hua-Hin District, Prachuapkhirikhan Province 3) To study the development of the marketing mix factors influencing the consumer buying behavior of single unit house in Hua-Hin District, Prachuapkhirikhan Province</p><p>The results of this research demonstrated that 1) The marketing mix factors influencing the consumer buying behavior of single unit house in Hua-Hin District, Prachuapkhirikhan Province the overall in high level. 2) Personal factors such as gender, age, marital status, education, and monthly income affect marketing mix factors statistically significant at the 0.05 level. 3) Behavior of buying the single unit house the majority answerer is safety. Minor uses are residential and represent the reliability of person. Therefore, the development of the marketing mix to meet the needs of the buyer.</p> Copyright (c) 2014 วารสารวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/NSRU/article/view/25365 การศึกษาสูตรที่เหมาะสมของการผลิตข้าวเกรียบมันแกว 2014-12-09T13:58:35+07:00 ชื่นจิต พงษ์พูล [email protected] <p>งานวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสูตรที่เหมาะสมของการผลิตข้าวเกรียบมันแกว และศึกษา คุณภาพของผลิตภัณฑ์ข้าวเกรียบมันแกวที่ได้ พร้อมทั้งการยอมรับของผู้บริโภค โดยศึกษาการทดแทนแป้งมัน สำปะหลังด้วยเนื้อมันแกวบางส่วนที่ ร้อยละ 20 30 40 50 และ 60 ตามลำดับ นำมาผลิตตามขั้นตอนการผลิต ข้าวเกรียบมาตรฐาน จากนั้นนำมาทดสอบคุณภาพทางกายภาพ ทางเคมี และทางประสาทสัมผัส พบว่าสูตรที่มี การทดแทนแป้งมันสำปะหลังด้วยมันแกวที่ร้อยละ 30 ได้คะแนนการยอมรับรวมสูงที่สุด การศึกษาองค์ประกอบ ทางเคมี พบว่าผลิตภัณฑ์ข้าวเกรียบมันแกวทั้ง 5 สูตร มีปริมาณคาร์โบไฮเดรตที่สูง การศึกษาอายุการเก็บรักษา ข้าวเกรียบมันแกวกึ่งสำเร็จรูปและข้าวเกรียบมันแกวสำเร็จรูปเป็นระยะเวลา 4 สัปดาห์ พบปริมาณเชื้อจุลินทรีย์ ทั้งหมดเท่ากับ 2.0 x 10<sup>2</sup> โคโลนีต่อกรัม และ 3.4 x 10<sup>2</sup> โคโลนีต่อกรัม และตรวจไม่พบเชื้อรา และยีสต์ ค่าเพอร์ ออกไซด์มีค่าเพิ่มขึ้นเมื่อระยะเวลาการเก็บเพิ่มขึ้น</p><p> </p><p>The objective of this research was to investigate the optimum formulation of Yam Bean Crispy and the physical and chemistry properties including sensory evaluation. The cassava starch was replaced with Yam Bean at 20, 30, 40, 50 and 60 percent, respectively. Yam Bean Crispy at the replaced ratio of 30 percent was the most accepted by the panelist. The chemical properties of all treatment were high in carbohydrate content. The shelf life of pre-cooked Yam Bean Crispy and Yam Bean Crispy for 4 week was evaluated. This study found that the total micro-organism count was 2.0 x 10<sup>2</sup> cfu/g and 3.4 x 10<sup>2</sup> cfu/g, respectively. Yeast and Mold were not detected and peroxide value was 5.38 meq/kg for 4 week.</p> Copyright (c) 2014 วารสารวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/NSRU/article/view/25366 รูปแบบการรับรู้คุณค่าการบริการที่มีผลกระทบต่อลูกค้าที่ภัตตาคารรีสอร์ท 2014-12-09T13:58:35+07:00 อานุภาพ จิรัฐติกาล [email protected] ศิวารัตน์ ณ ปทุม [email protected] ปริญ ลักษิตามาศ [email protected] <p>การวิจัยเรื่อง รูปแบบการรับรู้คุณค่าการบริการของลูกค้าที่ภัตตาคารรีสอร์ท มีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อ ศึกษาปัจจัยสาเหตุที่ส่งผลต่อการรับรู้คุณค่าการบริการของลูกค้าในภัตตาคารรีสอร์ท และสร้างรูปแบบการรับรู้ คุณค่าการบริการ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม (Questionnaire) ซึ่งเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่ม ตัวอย่างลูกค้าในภัตตาคารรีสอร์ท จำนวนทั้งสิ้น 880 คน ทั้งสัญชาติไทยและสัญชาติยุโรป การวิเคราะห์ข้อมูลครั้ง นี้ได้ใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS version 16.0 และ AMOS version 6.0 โดยใช้ค่าสถิติอันได้แก่ การแจกแจง ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสมการโครงสร้าง</p><p>ผลการวิจัยรูปแบบการรับรู้คุณค่าการบริการของลูกค้าในภัตตาคารรีสอร์ทพบว่าลักษณะพื้นฐานส่วน บุคคล ได้แก่ อายุ การศึกษา ภูมิลำเนา ประสบการณ์รับประทานอาหารตามภัตตาคารรีสอร์ทในและต่างประเทศ ความสำคัญของกิจกรรมไลฟ์สไตล์ด้านการรับประทานอาหารที่ภัตตาคารในรีสอร์ทและความคิดเห็นต่อการ รับประทานอาหารที่ภัตตาคารในรีสอร์ทต่างมีความสัมพันธ์เชิงสาเหตุต่อการรับรู้คุณค่าการบริการของลูกค้าใน ภัตตาคารรีสอร์ทที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 สามารถเขียนสมการ การรับรู้คุณค่าการบริการเท่ากับ 0.149 สัญชาติ+ 0.189 เพศ + 0.245* อายุ + 0.102* การศึกษา + 0.122* ภูมิลำเนา + 0.225* ประสบการณ์ใน ประเทศไทย + 0.165* ประสบการณ์ในต่างประเทศ + 0.110* กิจกรรม + 0.117 ความสนใจ + 0.102* ความ คิดเห็นต่อการรับประทานอาหาร; R<sup>2</sup> = 0.759</p><p> </p><p>The study of “The Perceived Service Value Model Impact on Resort Restaurant Customer” has a main objective to level the service value perception toward restaurant customer. The research tool is questionnaire which collected from sampling of 880 both Thai and European nationalities used SPSS version 16.0 and AMOS version 6.0. The statistical analysis of frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation and structural equation model are used for conclusion.</p><p>The profound result indicated that the sampling customer of personal characteristics such as age, education, location and opinions toward at resort restaurant had causal relationship experiences including lifestyle activities in restaurant resort facility. Both group of customers’ perception at high level in service value, quality, emotional response, behavior, pricing and resort restaurant goodwill respectively. The structural equation model is 0.149 Nation + 0.189 Gender + 0.245* Age + 0.102* Edu + 0.122* Domicile + 0.225* IE + 0.165* OE + 0.110* Activity + 0.117 Interest + 0.102* Opinion; R<sup>2</sup> = 0.759</p> Copyright (c) 2014 วารสารวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/NSRU/article/view/25367 การวิจัยปฏิบัติแบบมีส่วนร่วมเพื่อพัฒนาบรรจุภัณฑ์ของกลุ่มปุ๋ยชีวภาพ บ้านศรีอุทุมพร ต.หนองกรด อ.เมือง จ.นครสวรรค์ 2014-12-09T13:58:35+07:00 พรรษประเวศ อชิโนบุญวัฒน์ [email protected] <p>กลุ่มปุ๋ยชีวภาพบ้านศรีอุทุมพรเป็นกลุ่มชุมชนที่ผลิตผลิตภัณฑ์ปุ๋ยชีวภาพ ถ่านไม้ น้ำส้มควันไม้ และหมอนถ่าน เพื่อสุขภาพเพื่อเป็นอาชีพให้กับคนในชุมชน โดยมุ่งให้ความสำคัญของการนำภูมิปัญญาชาวบ้านและทรัพยากรที่มีใน ท้องถิ่นมาพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีคุณภาพสูงขึ้น มีจุดเด่น มีเอกลักษณ์ และสร้างมูลค่าของผลิตภัณฑ์ การออกแบบเพื่อ พัฒนารูปแบบบรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสมสำหรับผลิตภัณฑ์แต่ละชนิดจึงมีความสำคัญต่อการปกป้องสินค้าและส่งเสริมการ ขาย งานวิจัยเชิงปฏิบัติแบบมีส่วนร่วมนี้มีจุดประสงค์เพื่อพัฒนาบรรจุภัณฑ์ โดยการพัฒนารูปแบบบรรจุภัณฑ์ที่ คำนึงถึงหลักการออกแบบที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Eco-design) สำหรับหมอนถ่านคาร์บอนเพื่อสุขภาพของกลุ่มปุ๋ย ชีวภาพบ้านศรีอุทุมพร ต.หนองกรด อ.เมือง จ.นครสวรรค์ โดยใช้กระบวนการวิจัยแบบมีส่วนร่วม (Participatory research) และการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action research ) ประกอบด้วยการสัมภาษณ์ การใช้แบบสอบถาม การ สังเกต และการค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล เพื่อการประเมินสภาวะพื้นฐานบริบทชุมชน แนวคิดที่ใช้ในการ ออกแบบ รวมทั้งการวิเคราะห์และการออกแบบพัฒนาบรรจุภัณฑ์</p><p>ค่าความพึงพอใจต่อการออกแบบบรรจุภัณฑ์สำหรับหมอนถ่านคาร์บอนเพื่อสุขภาพอยู่ในเกณฑ์พึงพอใจดีมาก และรูปแบบถุงผ้าทำจากผ้าสปันบอนด์พิมพ์ลายกราฟิกที่แสดงถึงเอกลักษณ์ประจำจังหวัดนครสวรรค์เป็นบรรจุภัณฑ์ที่ ได้รับคะแนนความพึงพอใจสูงสุดคิดเป็นจำนวนร้อยละ 62.5 สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ (Reuse) ได้ตามหลักการ ออกแบบที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Eco-design) ขณะที่ชุมชนสามารถทำบรรจุภัณฑ์ได้เองโดยไม่ต้องผ่านโรงพิมพ์ซึ่ง มีผลต่อการประหยัดค่าใช้จ่าย ความร่วมมือระหว่างกลุ่มปุ๋ยชีวภาพบ้านศรีอุทุมพรและหน่วยงานมหาวิทยาลัยราชภัฏ นครสวรรค์เพื่อการพัฒนาบรรจุภัณฑ์การวิจัยปฏิบัติแบบมีส่วนร่วมครั้งนี้เป็นประโยชน์ในการนำไปสู่การสร้างรายได้ ให้กับชุมชนมากขึ้น นอกจากนี้การมีความรู้ในการออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมยังสามารถนำไปใช้ใน การออกแบบบรรจุภัณฑ์อื่นๆ ของชุมชนต่อไปในอนาคต</p><p> </p><p>Sri Uthumporn bio-fertilizer group is a local community that produces bio-fertilizer, charcoal, wood vinegar and charcoal health pillows to be a career for the people of the community while focusing on the importance of wisdom and locally available resources in order to generate higher quality, distinctive and identified products. Therefore suitable packaging design is importance in protecting and merchandising products. This research is to create an appropriate package, bases on development of packaging design with regard to eco-design for containing charcoal health pillows of Sri Uthumporn group using participatory research and action research including interviews, questionnaires, observations and studying documents and informative resources to evaluate the urban context and concept for designing, together with analysis and packaging design.</p><p>Complacence with packages designed for charcoal health pillow is high satisfying level. Bags made from spunbond cloth and printed graphic logo regarding to Nakhon Sawan province are the most satisfy at score 62.5 whilst being recycle subjects that respond to eco-designing concept. Furthermore the community could create additional packages themselves leading to cost saving and also higher income. Association of Sri Uthumporn bio-fertilizer group and Nakhon Sawan Rajabhat University (NSRU) in developing the package in this participatory and action research is significant usefulness. Moreover, given knowledge involved eco-packaging design could be useful for further improvement of other remaining packages derived from the community.</p> Copyright (c) 2014 วารสารวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/NSRU/article/view/25368 ปัจจัยที่ส่งเสริมการประหยัดพลังงานไฟฟ้าของบุคลากรใน บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรี จำกัด (มหาชน) จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 2014-12-09T13:58:36+07:00 ประสบโชค เปล่งปลั่ง [email protected] <p>การศึกษาปัจจัยที่ส่งเสริมการประหยัดพลังงานไฟฟ้าของบุคลากรในบริษัท สหวิริยาสติลอินดัสตรี จำกัด (มหาชน) จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งเสริมการประหยัดพลังงานไฟฟ้าพร้อมทั้ง เปรียบเทียบปัจจัยที่ส่งเสริมการประหยัดพลังงานไฟฟ้าและข้อเสนอเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมการประหยัดพลังงาน ไฟฟ้าของบุคลากรในบริษัท จำนวน 300 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลผลการวิจัยพบว่า</p><p>1. ปัจจัยที่ส่งเสริมด้านการประหยัดพลังงานไฟฟ้าของบุคลากรภายในบริษัท ส่วนปัจจัยจูงใจและส่วน ปัจจัยค้ำจุนใจในการประหยัดพลังงานไฟฟ้า อยู่ในระดับปานกลาง สรุปได้ว่าในแต่ละบุคคลที่มีพื้นฐานภูมิหลัง ความเป็นมาที่แตกต่างกันก็จะมีความต้องการที่จะไปกระตุ้นให้เกิดแรงจูงใจที่ต่างกัน</p><p>2. ปัจจัยทางพฤติกรรมที่ส่งเสริมการประหยัดพลังงานไฟฟ้าของบุคลากรภายในบริษัทพบว่า อยู่ใน ระดับสูง จะเห็นได้ว่าองค์ประกอบทางพฤติกรรมสามารถที่จะนำมาใช้อธิบายพฤติกรรมของบุคคลได้เพราะหาก บุคคลมีทัศนคติที่ดีต่อเรื่องใดบุคคลก็จะมีแนวโน้มที่จะมีพฤติกรรมในเรื่องนั้นมากกว่าบุคคลที่มีทัศนคติไม่ดี</p><p> </p><p>Factors that promote energy savings of the personnel in the company. NA Steel Industries Public Company (Limited) question aims to identify factors that promote energy savings and compare the factors that promote energy savings and deals to promote behavioral energy saving of personnel in the company of 300 people. questionnaires were used to collect data. The results showed that the</p><p>One. Factors that promote the conservation of energy within the company. The motivation factors and hygiene factors in mind, saving electricity. In the medium concluded that individuals with backgrounds as different as they are, there needs to be incentives to encourage different.</p><p>Two. Factors that promote energy saving electrical behavior of the personnel within the company found. High levels can be seen that the behavior can be used to describe the behavior of a person, because if a person has a positive attitude towards any person is more likely to behave in it than a person with a bad attitude.</p> Copyright (c) 2014 วารสารวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/NSRU/article/view/25369 แนวโน้มการจ้างงานในอุตสาหกรรมกรณีศึกษาบัณทิตเทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรม 2014-12-09T13:58:36+07:00 สนธยา แพ่งศรีสาร [email protected] <p>การวิจัยเรื่องแนวโน้มการจ้างงานในอุตสาหกรรม กรณีศึกษาบัณทิตเทคโนโลยีการจัดการมีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาแนวโน้มการจ้างงานบัณฑิตเทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรมในสถานประกอบการอุตสาหกรรม (2) เพื่อศึกษาคุณลักษณะของบุคลากรในสถานประกอบการอุตสาหกรรมในส่วนของการจัดการอุตสาหกรรม ประชากรการวิจัยคือผู้ประกอบการในสถานประกอบการอุตสาหกรรมส่วนงานการจัดการอุตสาหกรรมในเขต จังหวัดนครสวรรค์จำนวน 50 รายแบบสอบถามที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลคือค่าร้อยละ</p><p>ผลการวิจัยคือ 1. สถานประกอบการธุรกิจอุตสาหกรรม ส่วนใหญ่มีแนวโน้มจ้างงานบุคลากรด้าน เทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรมโดยไม่เลือกเพศในการคัดเลือกเข้าทำงานแต่ต้องการระดับอายุ 20 – 25 ปีมี ระดับการศึกษาปริญญาตรีและไม่จำเป็นต้องมีประสบการณ์</p><p>2. คุณลักษณะของบุคลากรที่ต้องการมากที่สุด พบว่า อันดับ 1 ผู้จัดการโรงงานอุตสาหกรรม ควรมี ความรู้ด้านการผลิตงานอุตสาหกรรม อันดับ 2 ผู้จัดการคุณภาพควรมีความรู้ด้านคุณภาพ และการควบคุม คุณภาพ 3. ความรู้ความสามารถของบุคลากรด้านเทคโนโลยีการจัดการอุตสาหกรรมที่สถานประกอบการต้องการ เพิ่มเติม ส่วนใหญ่ต้องการผู้มีความรู้ด้านคอมพิวเตอร์</p><p> </p><p>The objectives of this research are to explain the trends of the employment in Industrial Management Technology and the description of different personnal which Industrial Management Entrepreneur needed the populations is the Industrial management entrepreneur and the amount is 50 person: in Nakhon Sawan Province and questionnaire used in data analysis were percentage,</p><p>The research results show that 1. The most of Industrial Management Technology entrepreneur have trend to choose the employee by any sex, the age 20 - 25 years old, bachelor degree and no have years experience.</p><p>2. Characteristics of personnel needed it most, 1. Industrial Managers should have knowledge of the manufacturing industry. 2 Quality manager should have knowledge in quality and quality control. 3. Knowledge of personnel Management Technology industry. Most require knowledge of the computer.</p> Copyright (c) 2014 วารสารวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์