The Land of whom? The Property Bureau of Chulalongkorn University vs The Shrine of Goddess Tubtim –- the conflict between rules on land ownership and the protection of community culture
Keywords:
ownershipAbstract
เมื่อเดือนมิถุนายนที่ผ่านมาได้เกิดกรณีความขัดแย้งระหว่างสำนักงานจัดการทรัพย์สิน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกับศาลเจ้าแม่ทับทิม สะพานเหลือง ดังที่ปรากฏเป็นข่าวและกระแสในโลกออนไลน์มากมาย โดยความขัดแย้งดังกล่าวได้เกิดจากการที่สำนักงานจัดการทรัพย์สินจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้แจ้งให้ศาลเจ้าแม่ทับทิมทำการย้ายออกจากพื้นที่ภายในวันที่ 15 มิถุนายน 2563 ทั้งนี้เพื่อเป็นการเตรียมปรับพื้นที่ในการก่อสร้างอาคารแห่งใหม่ตามโครงการพัฒนาพื้นที่บริเวณหมอน 33 เขตพาณิชย์สวนหลวง-สามย่าน ตั้งแต่วันที่ 16 มิถุนายน 2563เป็นต้นไป ซึ่งทางจุฬาฯ ได้ทำการจัดเตรียมพื้นที่ใหม่ในการสร้างศาลเจ้าแม่ทับทิมสะพานเหลืองไว้ ณ บริเวณอุทยาน 100 ปี จุฬาฯ
References
2. นฤสิริ เชาวน์ฤทธิ์, สัมภาษณ์ออนไลน์โดย บุญญา ขำเพ็ง, 9 กรกฎาคม 2563.
3. Voice TV. (2560). สามย่านในความทรงจำของคน 2 วัย บนที่ดินทรัพย์สินจุฬาฯ. สืบค้น 3 กรกฎาคม 2563, จาก https://www.voicetv.co.th/read/524854
4. สำนักข่าวชายขอบ. (2558). การพัฒนารุกหนักคนสลัม ไล่รื้อชุมชนเก่า 150 ปี “บางปิ้ง” ชาวบ้านโดนคดี 80 ราย-วอนเห็นใจคนหาเช้ากินค่ำ. สืบค้น 7 กรกฎาคม 2563, จาก https://transbordernews.in.th/home/?p=9263
5. จิรัชญา ชัยชุมขุน, พระจันทร์ เอี่ยมชื่น และเพ็ญสินี ธิติธรรมรักษา. (2562). เมืองซ่อนคนจน: เมื่อความศิวิไลซ์คือการไล่คนจนออกจากเมือง. สืบค้น 7 กรกฎาคม 2563, จาก https://waymagazine.org/civilized-city-poor-people
6. The Burra Charter, “The Australia ICOMOS Charter for Places of Cultural Significance, Burra: 1999. อ้างถึงใน วิโรจน์ ชีวาสุขถาวร. “อดีต ปัจจุบัน อนาคต” ทิศทางการอนุรักษ์อุทยานประวัติศาสตร์ ในประเทศไทย. วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง 1 2 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2562) หน้า 10
7. The Burra Charter, “The Australia ICOMOS Charter for Places of Cultural Significance, Burra: 1999. อ้างถึงใน วิโรจน์ ชีวาสุขถาวร. “อดีต ปัจจุบัน อนาคต” ทิศทางการอนุรักษ์อุทยานประวัติศาสตร์ ในประเทศไทย. วารสารสถาปัตยกรรม การออกแบบและการก่อสร้าง 1 2 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2562) หน้า 10
บทสัมภาษณ์ ผศ.ดร. เทิดศักดิ์ เตชะกิจขจร จาก ธเนศ รัตนกุล. (2561). ชุมชนทรงคุณค่าไทยหายไป 4 แห่งต่อปี! รู้จัก DENKEN แนวคิดอนุรักษ์พื้นที่ดั้งเดิมแบบญี่ปุ่น. สืบค้น 4 กรกฎาคม 2563, จาก https://thematter.co/science-tech/why-we-should-learn-denken-from-japan/56209
8. ยงธนิศร์ พิมลเสถียร. ประเด็นวิกฤตเรื่องการอนุรักษ์ชุมชนประวัติศาสตร์ในเมือง สำหรับประเทศไทย. วารสารหน้าจั่ว 9 (กันยายน 2555-สิงหาคม 2556) หน้า 111
9. ธเนศ รัตนกุล. (2561). ชุมชนทรงคุณค่าไทยหายไป 4 แห่งต่อปี! รู้จัก DENKEN แนวคิดอนุรักษ์พื้นที่ดั้งเดิมแบบญี่ปุ่น. สืบค้น 4 กรกฎาคม 2563, จาก https://thematter.co/science-tech/why-we-should-learn-denken-from-japan/56209
10. ยงธนิศร์ พิมลเสถียร. ประเด็นวิกฤตเรื่องการอนุรักษ์ชุมชนประวัติศาสตร์ในเมือง สำหรับประเทศไทย. วารสารหน้าจั่ว 9 (กันยายน 2555-สิงหาคม 2556) หน้า 111
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
Copyright (c) 2021 พิมแพรว ทองศรีคำ
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
The manuscript is original, does not contain plagiarism, and does not infringe any copyright.