Capital punishment as viewed through the lens of Kant, Bentham, and Natural Law School

Authors

  • Kunruthai Rittikasorn
  • Nichapa Srisaenpang
  • Benyarak Boonnitee
  • Papatsara Wong
  • Piyawat Sroysamut

Keywords:

Capital punishment, Immanuel Kant, Jeremy Bentham, Deontological Ethics

Abstract

The discourse on whether the capital punishment should continue to be enforced remains a controversial topic among individuals in Thai society, as well as in global society. This academic article aims to study two issues related to this topic. The first issue is whether the capital punishment should continue to be enforced based on the philosophical concept of Deontological Ethics or Deontology, which analyzes the ideas of Immanuel Kant. The second issue is whether there should be continued enforcement of the capital punishment based on the Utilitarianism Theory, which analyzes the ideas of Jeremy Bentham.

Regarding the second issue, the article also discusses the ways in which continued enforcement should be controlled, which are divided into two approaches: the first approach is based on the principles of Kant and Bentham's ideas of Proportionality, and the second approach is based on the Presumption of Innocence according to the Natural Law Theory.

References

ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 19 วรรคหนึ่ง ผู้ใดต้องโทษประหารชีวิต ให้ดำเนินการด้วยวิธีฉีดยาหรือสารพิษให้ตาย

ปราโมทย์ เสริมศีลธรรม, หลักเกณฑ์ในการกำหนดโทษทางอาญา ภายใต้โครงการสนับสนุนสารสนเทศเพื่อการทำงานของสมาชิกรัฐสภา, (กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า, 2564), หน้า 14.

Herbert Morris, “The Right of Punishing and Pardoning” in Freedom and Responsibility, (California: Stanford University Press, 1961), p. 503.

Gertrude Ezorsky, “Jusctice and Punishment” in Philosophical Perspective on Punishment, (Albany: State University of New York Press, 1972), pp. 104-105.

สหธน รัตนไพจิตร, “ความประสงค์ของการลงโทษทางอาญา : ศึกษาเฉพาะประเทศไทยสมัยใช้กฎหมายลักษณะอาญาและประมวลกฎหมายอาญา” (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2527), หน้า 36-37.

ปราโมทย์ เสริมศีลธรรม, หลักเกณฑ์ในการกำหนดโทษทางอาญา ภายใต้โครงการสนับสนุนสารสนเทศเพื่อการทำงานของสมาชิกรัฐสภา, หน้า 16.

Immanuel Kant, The Metaphysical Elements of Justice, (Newyork: Macmillan, 1985), P. 99-107.

Immanuel Kant, “Division Of The Science Of Right” in Philosophy of Law (Edinburgh: T. & T. Clark, 1887), P. 54.

“Lex Talionis” มีหลักการอยู่ว่า ผู้กระทำความผิดทำให้ผู้เสียหายได้รับความเสียหายเช่นใด ผู้กระทำความผิดก็ต้องถูกลงโทษให้ได้รับความเสียหายเช่นนั้น หรือ “ตาต่อตาฟันต่อฟัน” ซึ่งเป็นลักษณะที่ปรากฏอยู่ในประมวลกฎหมายของพระเจ้าฮัมมูราบี (Hammurabi’s code)

Sherry F. Colb, Narrow Debate About The Death Penalty, Verdict Comments. Available at: https://verdict.justia.com/2020/07/27/narrow-debate-about-the-death-penalty (Accessed: December 21, 2022).

Reiss, H., Kant: Political Writings (Cambridge: Cambridge University Press ed., 1970), P. 43

วรเจตน์ ภาคีรัตน์, ประวัติศาสตร์ความคิดนิติปรัชญา, (กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์อ่านกฎหมาย, 2564), หน้า 374.

Jeremy Bentham, The Theory of Legislation, ed. C. K. Ogden, (London: Kegan Paul, Trench, Trubner & Co., 1931), P. 96

Hugo Adam Bedau, “Bentham's Utilitarian Critique of the Death Penalty,” Journal of Criminal Law and Criminology 74 (1983): 1055-1060,

พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 มาตรา 65 ผู้ใดผลิต นำเข้า หรือส่งออกซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 1 อันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา 15 ต้องระวางโทษจำคุกตลอดชีวิตและปรับตั้งแต่หนึ่งล้านบาทถึงห้าล้านบาท ถ้าการกระทำความผิดตามวรรคหนึ่งเป็นการกระทำเพื่อจำหน่าย ต้องระวางโทษประหารชีวิต

ประมวลกฎหมายยาเสพติด มาตรา 145 ผู้ใดผลิต นำเข้า ส่งออก จำหน่าย หรือมีไว้ในครอบครองซึ่งยาเสพติดให้โทษในประเภท 1 อันเป็นการฝ่าฝืนมาตรา 90 ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกินสิบห้าปี และปรับไม่เกินหนึ่งล้านห้าแสนบาท ถ้าการกระทำความผิดตามวรรคหนึ่งเป็นการกระทำดังต่อไปนี้ (1) การกระทำเพื่อการค้า ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่สองปีถึงยี่สิบปี และปรับตั้งแต่สองแสนบาทถึงสองล้านบาท

ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 201 ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงานในตำแหน่งตุลาการ พนักงานอัยการ ผู้ว่าคดี หรือพนักงานสอบสวน เรียก รับ หรือยอมจะรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดสำหรับตนเองหรือผู้อื่นโดยมิชอบเพื่อกระทำการหรือไม่กระทำการอย่างใดในตำแหน่ง ไม่ว่าการนั้นจะชอบหรือมิชอบด้วยหน้าที่ ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่ห้าปีถึงยี่สิบปี หรือจำคุกตลอดชีวิตและปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสี่แสนบาท หรือประหารชีวิต

ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 202 ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงานในตำแหน่งตุลาการ พนักงานอัยการ ผู้ว่าคดี หรือพนักงานสอบสวน กระทำการหรือไม่กระทำการอย่างใด ๆ ในตำแหน่ง โดยเห็นแก่ทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใด ซึ่งตนได้เรียก รับ หรือยอมจะรับไว้ก่อนที่ตนได้รับแต่งตั้งในตำแหน่งนั้น ต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่ห้าปีถึงยี่สิบปี หรือจำคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่หนึ่งแสนบาทถึงสี่แสนบาท หรือประหารชีวิต

UDHR Article 11 Everyone charged with a penal offence has the right to be presumed innocent until proved guilty according to law in a public trial at which he has had all the guarantees necessary for his defence.

Downloads

Published

2023-05-31

How to Cite

Rittikasorn, K., Srisaenpang, N. ., Boonnitee, B., Wong, P. ., & Sroysamut, P. (2023). Capital punishment as viewed through the lens of Kant, Bentham, and Natural Law School. Nitiparitat Journal, 3(2), 17–29. Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/NitiPariJ/article/view/264944

Issue

Section

Academic Articles