@article{ลีลาพรพินิจ_2018, title={การวิเคราะห์เปรียบเทียบด้านรูปแบบและเนื้อหาที่ปรากฎในแบบเรียนภาษาไทยสำหรับผู้เรียนชาวจีน}, volume={18}, url={https://so06.tci-thaijo.org/index.php/VANNAVIDAS/article/view/157004}, DOI={10.14456/vannavidas.2018.8}, abstractNote={<p>งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวิเคราะห์รูปแบบและเนื้อหาในแบบเรียนที่ใช้ในการเรียนการสอนภาษาไทยให้แก่ผู้เรียนชาวจีน 15 เล่ม รวมทั้งเสนอแนะแบบเรียนที่มีรูปแบบและเนื้อหาเหมาะสําหรับผู้เรียนชาวจีน</p> <p>ผลการวิจัยพบว่า แบบเรียนทั้ง 15 เล่มเหมาะสมกับผู้เรียนชาวจีนทั้งในด้านรูปแบบและเนื้อหา</p> <p>รูปแบบที่ปรากฏในแบบเรียนมี 2 ลักษณะคือ ลักษณะแรก แบบเรียนที่แบ่งเนื้อหาเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนไวยากรณ และส่วนบทสนทนาหรือบทอ่าน พบ 8 เล่ม ลักษณะที่สอง แบบเรียนที่นําเสนอบทสนทนาหรือบทอ่านเป็นหลัก ส่วนไวยากรณ์หรือหลักภาษาแทรกอยู่ในหัวข้อรูปประโยคและการใช้คําหรือ การใช้คําและวลีข้อสังเกตในเนื้อเรื่อง เนื้อความหรือตัวบท และหลักภาษาใน ตัวบท พบ 7 เล่ม</p> <p>เนื้อหาด้านไวยากรณ ที่ปรากฏในแบบเรียนทั้ง 15 เล่มมี 4 หัวข้อ ได้แก่ ชนิดของคําไทยแบ่งตามหน้ าที่วลีชนิดของประโยคแบ่งตามเนื้อความ และประโยคความเดียวแบ่งตามเจตนาการสื่อสาร ส่วนเนื้อหาด้ านบทสนทนาหรือบทอ่านที่ปรากฏในแบบเรียนมากที่สุดคือ อาหารการกิน ผลไม้ การแนะนําและการสั่งอาหารส่วนผสม รสชาติอาหาร อันดับสองคือ การทักทายและแนะนําตัวเองหรือคนอื่นให้รู้จักกัน และอันดับสาม ได้ แก่ ถ้อยคําที่ใช้ในชีวิตประจําวัน การซื้อของและต่อราคา และสถานที่ต่างๆ</p> <p>ลักษณะแบบฝึกหัดที่ปรากฏในแบบเรียนมากที่สุดคือ แบบฝึกหัดการอ่าน อันดับสองคือ แบบฝึกหัดการอ่านและการเขียน อันดับสามคือ แบบฝึกหัดการพูด นอกจากนี้ผู้วิจัยยังได้เสนอแนวทางการสร้างแบบเรียนที่มีรูปแบบและ เนื้อหาเหมาะสําหรับผู้เรียนชาวจีนเพื่อใช้เป็นสื่อการเรียนการสอนภาษาไทยในชั้นเรียนอีกด้วย</p>}, journal={วรรณวิทัศน์}, author={ลีลาพรพินิจ สุนีย์}, year={2018}, month={พ.ย.}, pages={185–210} }