@article{เอ็นดู_2021, place={Bangkok Thailand}, title={ ไส้เดือนตาบอดในเขาวงกต : การใช้โวหารภาษานำเสนอแนวคิดทางพระพุทธศาสนา}, volume={3}, url={https://so06.tci-thaijo.org/index.php/Vanam_434/article/view/247608}, abstractNote={<p>บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์การใช้โวหารภาษานำเสนอแนวคิดทางพุทธศาสนาในนวนิยายเรื่อง ไส้เดือนตาบอดในเขาวงกตของวีรพร นิติประภา ในการศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเพื่อวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วิธีศึกษาเอกสารตามขั้นตอนคือ ๑) สำรวจและศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับแนวคิดพุทธศาสนาและการใช้โวหารภาษาในวรรณกรรม ๒) ศึกษานวนิยายเรื่องไส้เดือนตาบอดในเขาวงกตของวีรพร นิติประภา ๓) วิเคราะห์การใช้โวหารภาษานำเสนอแนวคิดพุทธศาสนาในนวนิยายเรื่องไส้เดือนตาบอดในเขาวงกตของวีรพร นิติประภา ตามแนวคิดและทฤษฎีการใช้โวหารของปาริฉัตร พยุงศรี ตามประเด็นเกี่ยวกับบรรยายโวหาร พรรณนาโวหาร เทศนาโวหาร อุปมาโวหาร และ สาธกโวหารและ ๔) เสนอผลการศึกษาแบบพรรณนาวิเคราะห์</p> <p>ผลของการศึกษาพบว่าวีรพร นิติประภานั้นได้ใช้อุปมาโวหารมากที่สุด รองลงมาได้แก่บรรยายโวหาร  พรรณนาโวหาร  และเทศนาโวหารตามลำดับ อย่างไรก็ตามไม่พบว่ามีลักษณะการใช้สาธกโวหารภาษา</p>}, number={2}, journal={วารสารวนัมฎองแหรกพุทธศาสตรปริทรรศน์}, author={เอ็นดู พิสุทธิ์พงศ์}, year={2021}, month={มี.ค.}, pages={24–40} }