สื่อการเรียนรู้ด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องเทคโนโลยีอวกาศ

Main Article Content

กุลจิรา เรือนสอน
ชัชนีย์ยา ไชยสลี
วิระภรณ์ ไหมทอง

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องเทคโนโลยีอวกาศ พร้อมทั้งหาคุณภาพ และศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียน ที่มีต่อการเรียนด้วยหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่องเทคโนโลยีอวกาศ โดยใช้กลุ่มทดลองคือ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา
ปีที่ 6 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ จำนวน 32 คน ผลการวิจัยพบว่า คุณภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ มีค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) มากกว่า 0.5 ซึ่งสามารถนำมาใช้ได้ เมื่อพิจารณาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน ที่เรียนจากหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ โดยมีคะแนนเฉลี่ยของการทดสอบหลังเรียน สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และผลประเมินความพึงพอใจ ต่อการใช้งานหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ อยู่ในระดับมาก 

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

โครงสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book Construction). (24 พฤศจิกายน 2556). เข้าถึงได้จาก เรียนรู้การสร้าง Ebook: http://kroomaewebook.blogspot.com/2013/11/e-book-construction.html

เทคโนโลยีอวกาศ. (23 พฤศจิกายน 2557). เข้าถึงได้จาก โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ: http://sabuytamstylekunlee.blogspot.com/p/5.html

นาย ชูศักดิ์ ศุภจิตเจษฎากร. (5 เมษายน 2555). เทคโนโลยีทางการศึกษา. เข้าถึงได้จาก GotoKnow: https://www.gotoknow.org/posts/445802

นิกร เกษโกมล. (27 กันยายน 2559). ความหมายของสื่อดิจิทัล. เข้าถึงได้จาก สำนักงาน กศน.จังหวัดชัยภูมิ: http://chaiyaphum.nfe.go.th/index/?name=knowledge&file=readknowledge&id=37

เบญญาภา สอนสุภาพ. (ม.ป.ป.). ประโยชน์ของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์. เข้าถึงได้จาก บทเรียนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต: https://sites.google.com/a/jr.ac.th/e-book/prayochn-khxng-hnangsux-xilekthrxniks

พูลสุข ปริวัตรวรวุฒิ. (17 เมษายน 2558). ประเภทของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-BOOKS). เข้าถึงได้จาก หอสมุดแห่งชาติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์: http://203.131.219.167/km2559/2015/04/17/

วารุณี คงวิมล. (2559). การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) เรื่อง การใช้โปรแกรม Photoshop เพื่อผลิตสื่อการสอน สำหรับครูระดับประถมศึกษา. มหาวิทยาลัยบูรพา.

ศตวรรษ สิทธิฤทธิ์. (ม.ป.ป.). องค์ประกอบของ E-Book. เข้าถึงได้จาก satawatkhom: https://sites.google.com/site/satawatkhom/xngkh-prakxb-khxng-e-book

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกระทรวงศึกษาธิการ. (2554). หนังสือราย วิชาพื้นฐนโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ. กรุงเทพมหานคร: สกสค. ลาดพร้าว. เข้าถึงได้จาก https://drive.google.com/file/d/0B-EInE_8UukCajZMcXdObS0yTVU/view

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. (ม.ป.ป.). ศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์โลกและดาราศาสตร์. เรียกใช้เมื่อ 21 กันยายน 2563 จาก LESA: ศูนย์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์โลกและดาราศาสตร์: http://www.lesa.biz/astronomy/telescope/telescope-principle

สุจิตรา เชื้อกุล. (2559). การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องสารและสมบัติของสาร สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1ร่วมกับการจัดกิจกรรมการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้. มหาวิทยาลัยนเรศวร.

สุธารัตน์ ชำนาญเหนาะ. (2555). การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) ประกอบการสอนหลักสูตรท้องถิ่น เพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. มหาวิทยาลัยทักษิณ.