สื่อการเรียนรู้ระบบสุริยะ เรื่อง ดาวเคราะห์ โดยใช้เทคโนโลยีความจริงเสริม สำหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
Main Article Content
บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาสื่อการเรียนรู้ระบบสุริยะ
เรื่องดาวเคราะห์ โดยใช้เทคโนโลยีความจริงเสริม สำหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 2) เพื่อหาความพึงพอใจจากผู้เชี่ยวชาญทางด้านมัลติมีเดีย และครูผู้สอนเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
ผลการศึกษาพบว่า 1) ได้สื่อการเรียนรู้ระบบสุริยะ เรื่องดาวเคราะห์ โดยใช้เทคโนโลยีความจริงเสริม สำหรับเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 2) ความพึงพอใจของผู้เชี่ยวชาญทางด้านมัลติมีเดียต่อสื่อการเรียนรู้ระบบสุริยะ เรื่องดาวเคราะห์ อยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด ( = 4.28, S.D. = 0.07) 3) ความพึงพอใจของครูผู้สอนเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด ( = 4.61, S.D. = 0.63)
Article Details
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้ ไม่ใช่ความคิดเห็นและความรับผิดชอบของคณะผู้จัดทำ บรรณาธิการ กองบรรณาธิการ และมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ซึ่งความรับผิดชอบด้านเนื้อหาและการตรวจร่างบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน
References
คณิศร จี้กระโทก, วรัญญา โอภาศรี และ อรวรรณ โอภาศรี. (2557). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มสารการเรียนรู้กลุ่มภาษาต่างประเทศเรื่อง My school things and My family สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 กรณีศึกษาโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี. ในรายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์ศึกษาเพื่อสร้างแรงบันดาลใจสู่นวัตกรรม ครั้งที่ 1(NCSEII 2014). หน้า 48-51. จังหวัดเพชรบุรี. มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี.
จีระศักดิ์ เลิศชัยยุทธพงษ์, คณิศร จี้กระโทก และ ไพศาล ดาแร่. (2556). การพัฒนากระบวนการเรียนรู้เรื่องสีสำหรับเด็กออทิสติกโดยใช้ชุดฝึกมัลติมีเดียเกมและศิลปะ. ในรายงานการประชุมระดับชาติด้านเวชสารสนเทศครั้งที่ 2 (TMI-NCMedInfo 2013). หน้า 38-42. กรุงเทพมหานคร.
ชัชวาล เรืองประพันธ์. (2539). สถิติพื้นฐาน. ขอนแก่น: โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา.
ดุจฤดี หลักหนองบุ, ธนกาญจน์ แสงทอง และ คณิศร จี้กระโทก. (2559). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์มัลติมีเดีย เรื่องรูปร่าง รูปทรง ในธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. ในรายงานการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ “ราชภัฏวิจัยครั้งที่ 4”. หน้า 238-245. บุรีรัมย์. มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
นิภาธร สาระพันธ์. (2558). การพัฒนาบทเรียนวีดีทัศน์ เรื่อง ภาษามือไทย สำหรับนักศึกษาพิการหูหนวก. วิทยานิพนธ์. กศ.ม. สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา.มหาวิทยาลัยบูรพา.
วารุณี ฆ้องดอน. (2554). การพัฒนาทักษะการพิมพ์ โดยใช้โปรแกรมหัดพิมพ์ดีด Typing master ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยสายมิตรเทคโนโลยีนครราชสีมา. รายงานผลการวิจัย. วิทยาลัยสายมิตรเทคโนโลยีนครราชสีมา.
วิชัย บำรุงศรี. (2550). การใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนการออกเสียง ภาษาอังกฤษของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก. ปริญญานิพนธ์ พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา.
วีนา โชติช่วง, ชิติพัทธ์ ปานเกษม และ วิจิตรา สายแสง. (2562). การพัฒนาแอปพลิเคชัน สื่อเสริมการเรียนรู้ระบบสุริยะด้วยเทคโนโลยีเสมือนจริง. ในรายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระหว่างสถาบัน (ASTC) ครั้งที่ 7 “บูรณาการ วิจัย และ นวัตกรรม เพื่อสร้างเสริมสุขภาพ” หน้า 1637-1645. ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยรังสิต.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2545. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค.