@article{(Sirirat Deeto)_(Pakorn Prachanban)_2018, title={ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบการสอนมโนทัศน์ที่มีต่อมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ เรื่อง ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1; THE EFFECT OF LEARNING ACTIVITY MANAGEMENT IN THE LINE OF CONCEPT ATTAINMENT MODEL...}, volume={20}, url={https://so06.tci-thaijo.org/index.php/edujournal_nu/article/view/131026}, abstractNote={<p>การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย คือ 1) เพื่อเปรียบเทียบมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน เรื่อง ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบการสอนมโนทัศน์ และ 2) เพื่อเปรียบเทียบมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ เรื่อง ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบการสอนมโนทัศน์กับเกณฑ์ร้อยละ 70 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนอุดมดรุณี จำนวน 36 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบการสอนมโนทัศน์ เรื่อง ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย และแบบทดสอบวัดมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ เรื่อง ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย แผนการวิจัย คือ One Group Pretest-Posttest Design วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่ามัชฌิมเลขคณิต ค่ามัชฌิมเลขคณิตร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัย พบว่า 1) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบการสอนมโนทัศน์ มีมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ เรื่อง ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 05 2) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบการสอนมโนทัศน์ มีมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ เรื่อง ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย คิดเป็น 74.86 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05</p> <p><strong>THE EFFECT OF LEARNING ACTIVITY MANAGEMENT IN THE LINE OF CONCEPT ATTAINMENT MODEL TO MATHEMATICS CONCEPT ON THE TOPIC OF HIGHEST COMMON FACTOR AND LEAST COMMON MULTIPLE OF GRADE VII STUDENTS<br></strong></p> <p>The purposes of this research were 1) to compare the mathematics concept before and after learning of grade VII students on the topic of highest common factor and least common multiple after learning activity management in the line of Concept Attainment Model, and 2) to compare the mathematics concept of grade VII students on the topic of highest common factor and least common multiple after learning activity management in the line of Concept Attainment Model with the determined criteria of 70 percent of the test score. The sample group was 36 students in the grade VII, second semester, academic year 2015 at Udomdarunee School. The research instrument were the lesson plans activity management in the line of Concept Attainment Model on the topic of highest common factor and least common multiple and mathematics concept test on the topic of highest common factor and least common multiple. The research was One Group Pretest-Posttest Design. The data were analyzed by mean of arithmetic means, means of percentage, standard deviation, and t-test for one sample. The results of the study revealed that 1) mathematics concept of grade VII students after learning activity management in the line of Concept Attainment Model on the topic of highest common factor and least common multiple was higher than before learning at .05 level of statistical significance, and 2) mathematics concept of grade VII students after learning activity management in the line of Concept Attainment Model on the topic of highest common factor and least common multiple were 74.86 which higher than the determined criteria of 70 percent of the test score at .05 level of statistical significance.</p>}, number={2}, journal={Journal of Education and Innovation}, author={(Sirirat Deeto) ศิริรัตน์ ดีโต and (Pakorn Prachanban) ปกรณ์ ประจันบาน}, year={2018}, month={Jun.}, pages={224–232} }