TY - JOUR AU - ภักดี, ธีรภรณ์ PY - 2013/06/14 Y2 - 2024/03/29 TI - การพัฒนาครูปฐมวัยต้นแบบด้านการสร้างชุดกิจกรรมศิลปะจากการเล่านิทานพื้นบ้านของผู้สูงอายุ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาอุดรธานีเขต 2 อำเภอกุมภวาปี ที่ส่งเสริมพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัย JF - Journal of Education and Innovation JA - JEI VL - 14 IS - 2 SE - Research Articles DO - UR - https://so06.tci-thaijo.org/index.php/edujournal_nu/article/view/9367 SP - 35-46 AB - <p><strong>บทคัดย่อ</strong><strong></strong></p> <p>การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) พัฒนาครูปฐมวัยต้นแบบด้านการสร้างชุดกิจกรรมศิลปะ จากการเล่านิทานพื้นบ้านของผู้สูงอายุ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 อำเภอกุมภวาปี2) เปรียบเทียบความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัยที่ทำกิจกรรมสร้างสรรค์จากชุดกิจกรรมศิลปะก่อนและหลังการทดลอง</p> <p>กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ครูปฐมวัยในโรงเรียนสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 อำเภอกุมภวาปี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 จำนวน 15 คน ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจงจากครูผู้สอนเด็กปฐมวัยของแต่ละโรงเรียน เพื่อนำมาเป็นกลุ่มเป้าหมายในการสร้างชุดกิจกรรมศิลปะ จากการเล่านิทานพื้นบ้านของผู้สูงอายุ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานีเขต 2 อำเภอกุมภวาปี ที่ส่งเสริมพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัย การดำเนินการทดลองใช้ระยะเวลา 8 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 3 วัน วันละ 60 นาที รวมทดลองทั้งสิ้น 24 ครั้ง</p> <p>เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ แผนการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ นิทานพื้นบ้าน และแบบทดสอบความคิดสร้างสรรค์ ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .91 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือการทดสอบค่าทีแบบไม่อิสระ (t- test for Dependent Samples)</p> <p>ผลการวิจัยพบว่า</p> <p>1. ได้ครูปฐมวัยต้นแบบด้านการสร้างชุดกิจกรรมศิลปะ จากการเล่านิทานพื้นบ้านของผู้สูงอายุสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 อำเภอกุมภวาปี ที่มีความเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรมในการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัยดังนี้</p> <p>1.1 ครูปฐมวัยต้นแบบมีหลักการ แนวทางการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ เป็นลำดับขั้น คือ การวางแผนการสร้างชุดกิจกรรมศิลปะ จากการเล่านิทานพื้นบ้านของผู้สูงอายุ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 อำเภอกุมภวาปี การจัดเตรียมสื่อ อุปกรณ์ การดำเนินการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์และการประเมินผลงานของเด็กปฐมวัย</p> <p>1.2 ครูปฐมวัยต้นแบบมีรูปแบบการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ที่หลากหลาย คือ การนำผู้สูงอายุในชุมชนมาเล่านิทานพื้นบ้านเป็นการนำเข้าสู่กิจกรรม ขั้นดำเนินกิจกรรม ครูจัดกลุ่มกิจกรรมศิลปะ 5 กิจกรรมขั้นสรุป การนำเสนอพร้อมจัดแสดงผลงาน</p> <p>2. เด็กปฐมวัยที่ทำชุดกิจกรรมศิลปะ จากการเล่านิทานพื้นบ้านของผู้สูงอายุ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 อำเภอกุมภวาปี มีความคิดสร้างสรรค์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01</p> <p> </p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p>The purposes of this research aimed to; 1) Develop early childhood teachers in art activitiescreation by telling folk tales from the elderly living in Udon Thani Primary School Educational ServiceArea 2, Khumphavapee District. 2) Compare early childhood children’ creativity attending creativeactivities from pre-test and post-test art activities.</p> <p>The sample group used in this research was comprised of 15 early childhood teachers inUdon Thani Primary School Educational Service Area 2, Khumphavapee District, the first semester,and academic year 2011. This sample group was selected by purposive sampling from earlychildhood teachers in each school in order to become target group in art activities creation by tellingfolk tales from the elderly living in Udon Thani Primary School Educational Service Area 2,Khumphavapee District to promote early childhood children’ creativity. The period of experiment was8 weeks, 3 days per week, 60 minutes per day in total of 24 times.</p> <p>The research tools were creative activities plan, folk tale and creative test whereas thereliability was .91 The statistics for data analysis was t-test for Dependent Samples.</p> <p>The results revealed that ;</p> <p>1.The early childhood teachers were promoted in art activities creation from the elderlyliving in Udon Thani Primary School Educational Service Area 2, Khumphavapee District. They alsodeveloped creative activities for early childhood as follows;</p> <p>1.1 The original early childhood teachers had both creative activities principal andmethods in process for art activities creation plan by telling folk tale from the elderly living in UdonThani Primary School Educational Service Area 2, Khumphavapee District. Besides, they increasedhow to prepare teaching materials, manage creative activities and evaluate early childhoodchildren’achievements.</p> <p>1.2 The original early childhood teachers provided various of creative activities i.e. theactivity introduction was by telling folk tale from the elderly living in community, the during activitiescomposed of 5 art activities and the conclusion were presentation and exhibition.</p> <p>2. The early childhood children who participated in art activities by telling folk tale from theelderly living in Udon Thani Primary School Educational Service Area 2, Khumphavapee District hadcreativity statistical significance at .01 level.</p> ER -