ผลของโปรแกรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับ ความดันโลหิตไม่ได้ อำเภอร่องคำ จังหวัดกาฬสินธุ์
คำสำคัญ:
โรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้, โปรแกรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง, ทฤษฎีแรงจูงใจในการป้องกันโรคบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้ อำเภอร่องคำ จังหวัดกาฬสินธุ์ กลุ่มตัวอย่าง คือ เป็นผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ที่เข้ารับบริการในโรงพยาบาลร่องคำ จำนวน 60 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 30 คน และกลุ่มควบคุม 30 คน เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม ได้แก่ ข้อมูลทั่วไป และพฤติกรรมป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง เครื่องวัดความดันโลหิตชนิดปรอท และ แบบบันทึกความดันโลหิต วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติเชิงอนุมานเปรียบเทียบความแตกต่าง โดยใช้ Independent t- test และ Paired t-test
ผลการวิจัยพบว่า 1)หลังการใช้โปรแกรมกลุ่มทดลองมีพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองและระดับความดันโลหิตดีกว่าก่อนใช้โปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) หลังการใช้โปรแกรมกลุ่มทดลองมีพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองและระดับความดันโลหิตดีกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05
References
กัตติกา วังทะพันธ์. (2562). ผลของโปรแกรมการจัดการตนเองเพื่อป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้. วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต,สาขาเวชปฏิบัติชุมชน, คณะพยาบาลศาสตร์, มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. กระทรวงสาธารณสุข. (2555). สถิติสาธารณสุขปี 2555 (2551-2555). ข้าถึงได้จาก htt://bps.mop.go./new
ประไพศรี คงหาสุข. (2562). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในผู้เป็นโรคเรื้อรัง จังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิต, สาขาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน, คณะพยาบาลศาสตร์, มหาวิทยาลัยบูรพา.
นภาพร ห่วงสุขสกุล. (2555). พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดอุบลราชธานี.วิทยานิพนธ์ ส.ม. สาขาวิชาการสร้างเสริมสุขภาพ, มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี.
ปรีดี ยศดา.(2562). ผลของโปรแกรมพัฒนาพฤติกรรมป้องกันโรคหลอดเลือดสมองของผู้ป่วย โรคความดัน โลหิตสูง อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม.วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต,แขนงวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน, สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
พิชชานันท ์ สงวนสุข. (2564). ประสิทธิผลของโปรแกรมเสริมสร้างสมรรถนะแห่งตนต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในผู้สูงอายุโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง อำเภอคลองขลุง จังหวัดกำแพงเพชร. วิทยานิพนธ์สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยนเรศวร.
พันทิพพา บุญเศษ และลัฆวี ปิยะบัณฑิตกุล.(2561). ผลของโปรแกรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในกลุ่ม เสี่ยงสูงตำบลห้วยบง อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ. 21(2), 28-41.
พัสตราภรณ์ ปัญญาประชุม. (2559).ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการมารับการรักษาในโรงพยาบาลที่ใช้ระบบเครือข่ายการส่งต่อช่องทางด่วนของผู้ป่วย โรคหลอดเลือดสมองระยะเฉียบพลัน. วิทยานิพนธ์พยาบาลสาสตร์มหาบัณฑิต, สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่, คณะพยาบาลศาสตร์, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
พิศิษฐ์ ปาละเขียว,จันทร์จิรา ยานะชัย และ ศิริรัตน์ ผ่านภพ. (2566). ผลของโปรแกรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านดอนแก้ว อำเภอเถิน จังหวัดลำปาง. วารสารวิจัยสุขภาพโรงพยาบาลและชุมชน. 21(2),
ยุทธนา ชนะพันธ์ และดาริวรรณ เศรษฐีธรรม (2561) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการป้องกันโรค หลอดเลือดสมองในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง อำเภอกุมภวาปี จังหวัดอุดรธานี. วารสาร โรงพยาบาลสกลนคร. 1(1),15-25.
วาสนา หน่อสีดา และวิลาวัณย์ ชมนิรัตน์. (2562). การพัฒนาแนวทางการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตไม่ได้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสาม พร้าว. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ. 37(4),
ศุภวรรณ มโนสุนทร. (2552). รายงานการพยากรณ์โรคความดันโลหิตสูง. เข้าถึงได้จาก http://www.nterfetpthailand.net/forecast/files/report_2012/re
ศุภวรรณ มโนสุนทร. (2557). รายงานการพยากรณ์โรคหลอดเลือดสมอง. เข้าถึงได้จาก http://www. interfetpthailand.net/forecast/files/report_2014/r
ศิริรัตน์ ผ่านภพ. (2561). ผลของโปรแกรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยง อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง.วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์,มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
เสกสรร ไข่เจริญ, มยุรี พิทักษ์ศิลป์, วัลลภ ใจดี, และสมจิต พฤกษะริตานนท์. (2560). ผลของการฝึกผ่อนลมหายใจออกช้าโดยการเป่ากังหันลมต่อความดันโลหิตในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง. บูรพาเวชสาร, 4(1), 9-20.
สมาคมโรคหลอดเลือดสมองไทย. (2557). วันโรคหลอดเลือดสมองโลก (Stroke Awareness Day). กรุงเทพมหานคร: สถาบันประสาทวิทยา.
สมาคมความดันโลหิตสูงแห่งประเทศไทย. (2558). แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงในเวชปฏิบัติทั่วไป พ.ศ. 2555 ปรับปรุง พ.ศ. 2558. กรุงเทพฯ: ฮั่วน้ำพริ้นติ้ง.
สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักปลัดกระทรวงสาธารณสุข.( 2555) สถิติสาะรณสุข. เข้าถึงได้จากhttp://bps.moph.go.th.new_ bps/sites/default/file/healt_statistic
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2560). โรคหลอดเลือดสมองเสียชีวิต 1 คน/ 6 วินาที. เข้าถึงได้จาก https://www.thaihealth.or.th/NewsHealth.html
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2561). ประเด็นสารรณรงค์วันอัมพาตโลก ปี 2561. สืบค้นจาก https://ddc.moph.go.th/uploads/files/78a5b91d92a079 c1a35867c6347a9299.pdf
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2560ก). ประเด็นสารรณรงค์วันอัมพาตโลก ปี 2560. สืบค้นจากhttp://www.thaincd.com/2016/media.php?tid=&gid=1-015-006&search สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2560ข). คู่มือการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจขาดเลือด และโรคหลอดเลือด