การพัฒนากระบวนการดูแลผู้คลอดเพื่อป้องกันและลดภาวะตกเลือดหลังคลอด : กรณีศึกษา 2 ราย

ผู้แต่ง

  • ปาริชาติ พิมพ์ดี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ โรงพยาบาลเขาสวนกวาง

คำสำคัญ:

มารดาที่มีภาวะตกเลือดระยะหลังคลอด

บทคัดย่อ

     การศึกษานี้เป็นกรณีศึกษามีวัตถุประสงค์ในการศึกษาเพื่อปฏิบัติการพยาบาลมารดาที่มีภาวะตกเลือดระยะหลังคลอดในโรงพยาบาลเพื่อให้มารดาปลอดภัยจากภาวะตกเลือดระยะหลังคลอดขณะนอนรักษาตัวในโรงพยาบาล กรณีศึกษาจำนวน2ราย ในช่วงปีงบประมาณ 2565 โดยใช้เกณฑ์ในการคัดเลือกเลือกคือเป็นมารดาที่คลอดในโรงพยาบาลเขาสวนกวางและมีการเสียเลือดจากการคลอดทางช่องคลอดมากว่า 500 มล. การศึกษากรณีศึกษามารดาที่มีภาวะตกเลือดหลังคลอดทั้ง 2 กรณีนี้ใช้ข้อมูลจากการซักประวัติทั่วไป ประวัติการเจ็บป่วย ประวัติครอบครัว จากแฟ้มข้อมูลผู้ป่วยและใช้เครื่องมือ11แบบแผนด้านสุขภาพของกอร์ดอน(Gordon’s Functional Health Pattern)เป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูลของผู้ป่วย ข้อมูลที่ได้ถูกนำมาวิเคราะห์เชื่อมโยงกันระหว่างพยาธิสรีรภาพของผู้ป่วยและข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลแล้วนำไปวางแผนการพยาบาลปฏิบัติการพยาบาลและประเมินผลการพยาบาล ตามกระบวนการพยาบาล

References

กระเษียร ปัญญาคำเลิศ(2551).สูติศาสตร์.พิมพ์ครั้งที่4.กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์.

งานห้องคลอด กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลเขาสวนกวาง. (2566). ข้อมูลรายงาน ก.2.ขอนแก่น :โรงพยาบาลเขาสวนกวาง.

จันทิยา เนติวิภชธรรม (2563).การพยาบาลภาวะตกเลือดหลังคลอด.วารสารศูนย์อนามัยที่ 7 ขอนแก่น.ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 สิงหาคม 2563-มกราคม 2564

โฉมพิลาศ จงสมชัย.ภาวะตกเลือดหลังคลอด Post partum hemorrhage,PPH. การประชุมวิชากรครั้งที่26 ประจำปีที่33ฉบับบที่ 1 ม.ค.-มี.ค.2562

ชฎา ภูยาดาว(2563).กรณีศึกษา การพยาบาลมารดาที่มีภาวะตกเลือดหลังคลอด โรงพยาบาลคำม่วง จังหวัดกาฬสินธุ์.วารสารวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพ. ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2563

ชัยยุทธ เครือเทศน์. การดูแลระยะที่ 3 ของการคลอดด้วย วิธี active management กับวิธีธรรมชาติ (expectant management) ในโรงพยาบาลโพธาราม พ.ศ.2546-2548.วารสารวิชาการสาธารณสุข.2549 ; 15: 753-759.

ญาดา ทองอยู่ (2558). Surgical Management of Post partum hemorrhage. เข้าถึงได้จาก : www.medicine.cmu.ac.th/dept/obgyn/2011/index.

ฐิติพร สิริวชิรชัย. สูติแพทย์จากร้อย-แก่น-สาร-สินธุ์.(2560).คู่มือ การดูแลรักษาสตรีตั้งครรภ์เสี่ยงสูงและโรคสตรีทางนรีเวชเขตสุขภาพที่7.พิมพ์ครั้งที่2(ปรับปรุงครั้งที่ 3).: หจก.ขอนแก่นการพิมพ์

ทิพวรรณ เอี่ยมเจริญ.(2560).การตกเลือดหลังคลอด:บทบาทสำคัญของพยาบาลในการป้องกัน.วารสารวิชาการ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย(วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี),6(2), 146-157.

เพชราภรณ์ ทองสตา.(2563).กรณีศึกษา : การพยาบาลมารดาที่มีภาวะตกเลือดระยะหลังคลอด โรงพยาบาลกาฬสินธุ์.วารสารวิจัยและพัฒนาระบบสุขภาพ.ปีที่13ฉบับที่2พฤษภาคม-สิงหาคม2563

วิทยา ถิฐาพันธ์. ตรีภพ เลิศบรรณพงษ์. (2563). ตำราประกอบภาพ : ภาวะตกเลือดหลังคลอด. พิมพ์ครั้งที่1 กรุงเทพฯ : ภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวช คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล : บริษัท พี.เอ.ลีฟวิ่ง จำกัด

นักส่งเสริมสุขภาพ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. (2562). สถิติกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. กรุงเทพมหานคร: สำนักนโยบายและแผนสาธารณสุข. กรุงเทพมหานคร.

สุภาวดี แถวเพีย.(2550).“การพยาบาลมารดาหลังคลอดที่มีภาวะแทรกซ้อน” ในศรีเกียรติ์ อนันต์สวัสดิ์.บรรณาธิการ.การพยาบาลสูติศาสตร์ เล่ม3.พิมพ์ครั้งที่7.นนทบุรี: บริษัทยุทธรินทร์การพิมพ์ จำกัด.

สุฑารัตน์ ชูรส.(2562).“การป้องกันการตกเลือดหลังคลอด : บทบาทพยาบาล”วารสารวิชาการแพทย์เขต 11. ปีที่ 33 ฉบับที่ 1 ม.ค.-มี.ค.2562

Active Management of the Third Stage of Labor. (2006). ค้นเมื่อวันที่ 21 มกราคม 2560. จากhttp://www.pphprevention.org/files/Indicatormtg-AMTSTdescribed 11-17-09.pdf

Carroll., Day, D. and Begley,C.M.2016. The prevalence of women’s emotional and physical health problems following a postpartum hemorrhage : a systemic review. BMC Pregnancy and Childbirth.16(1):261.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-04