การทดสอบปนเปื้อนของสารสเตียรอยด์ในผลิตภัณฑ์ยาสมุนไพรในอำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี

ผู้แต่ง

  • วีรศักดิ์ จรภักดี คณะแพทยศาสตร์ สาขาเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น จังหวัดกาญจนบุรี
  • สยมภู สงวนสิทธิอนันต์ คณะแพทยศาสตร์ สาขาเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น จังหวัดกาญจนบุรี

คำสำคัญ:

ฟ้าทะลายโจร, กระชาย, ขมิ้นชัน, บอระเพ็ด, ยาสมุนไพร, สเตียรอยด์

บทคัดย่อ

การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจมีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบลักษณะทางกายภาพ ข้อมูลผลิตภัณฑ์และการปนเปื้อนสารสเตียรอยด์ในผลิตภัณฑ์ยาสมุนไพรในรูปผง แคปซูล เม็ดยา และลูกกลอนที่จำหน่ายในชุมชนอำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี ช่วงเดือนสิงหาคมถึงตุลาคม พ.ศ.2566 การศึกษานี้ตรวจหาการปนเปื้อนของสารสเตียรอยด์ในผลิตภัณฑ์ยาสมุนไพร 4 ชนิด ได้แก่ ฟ้าทะลายโจร กระชาย ขมิ้นชัน และบอระเพ็ดที่มีจำหน่ายในอำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี ทั้งที่มีและไม่มีเลขขึ้นทะเบียนกับองค์การอาหารและยา  โดยใช้การตรวจหาสารสเตียรอยด์ด้วยวิธี Immunochromatography strip test ร่วมกับวิธี Thin-Layer Chromatography (TLC) กับตัวอย่างที่เก็บได้ 40 ตัวอย่าง  ผลการศึกษาพบยาสมุนไพรฟ้าทะลายโจรชนิดลูกกลอนมีการปนเปื้อนสารสเตียรอยด์ชนิด Dexamethasone และ Prednisolone จำนวน 1 ตัวอย่าง (ร้อยละ 2.50)

References

กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก. แผนแม่บทแห่งชาติว่าด้วยการพัฒนาสมุนไพรไทย ฉบับที่ 1 พ.ศ.2560 – 2564. [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก; 2560 [เข้าถึงเมื่อ 6 พ.ย. 2566]. เข้าถึงได้จาก https://www.dtam.moph.go.th/images/download/dl0021/MasterPlan-Thaiherb.pdf

กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก. แผนแม่บทแห่งชาติว่าด้วยการพัฒนาสมุนไพรไทย ฉบับที่ 2 พ.ศ.2566 – 2570. [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก; 2566 [เข้าถึงเมื่อ 6 พ.ย. 2566]. เข้าถึงได้จาก https://www.dtam.moph.go.th/index.php/th/download/9995-dl0146.html

สิรดา ปงเมืองมูล, ชุติมา จิตตประสาทศีล, ปยะดา หวังรุงทรัพย์, และ ลัดดา พูลสวัสดิ์. สถานการณการปนเปอนเชื้อจุลิน ทรียในยาสมุนไพรและยาแผนโบราณของประเทศไทย ปี พ.ศ.2564. วารสารกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์. 2566;65(2):45-67.

พัชราภรณ์ ภู่ไพบูลย์, ศิริวัลย์ สร้อยกล่อม และ พินิจ ไพรสนธิ์. การปนเปื้อนโลหะหนักในยาสมุนไพรไทย. ใน: การประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 48; 3-5 ก.พ. 2553; กรุงเทพฯ. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย; 2553. หน้า 355-63.

นันทนา กลิ่นสุนทร, ตวงพร เข็มทอง และ ชมพูนุท นุตสถาปนา. การศึกษาปริมาณสารสเตียรอยด์ที่ปลอมปนในยาจากสมุนไพร เขตพื้นที่สาธารณสุข 4, 5. วารสารอาหารและยา 2555;19(2):31-37.

Creative Proteomics. Plant sterols: structures, biosynthesis, and functions. [internet]. 2022 [cited 2022 Nov 6]. Available from: https://www.creative-proteomics.com/resource/plant-sterols-structures-biosynthesis-and-functions.htm

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์. รายงานประจำปี 2558: ผลงานบริการด้านห้องปฏิบัติการ ด้านยา ยา ยาเสพติด และวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท [อินเทอร์เน็ต]. 2558 [เข้าถึงเมื่อ 6 พ.ย.2566]. เข้าถึงได้จาก: https://cloud.dmsc.moph.go.th/itc/annual_report/pdf/2558/58-dmsc.pdf

ศูนย์ข้อมูลข่าวสารด้านเวชภัณฑ์ กระทรวงสาธารณสุข. การขายยา Dexamethasone และยา Prednisolone ชนิดรับประทาน [อินเทอร์เน็ต]. 2551 [เข้าถึงเมื่อ 6 พ.ย.2566]. เข้าถึงได้จาก: https://dmsic.moph.go.th/index/detail/2963

ยรรยงค์ อิ่มสุวรรณ. มารู้จักกับยาสเตียรอยด์ (Steroid) [อินเทอร์เน็ต]. 2566 [เข้าถึงเมื่อ 6 พ.ย.2566]. เข้าถึงได้จาก: http://www.med-afdc.net/wp-content/uploads/2016/11/มารู้จักกับยา-Steroid.pdf

Compston JE. Review article: osteoporosis, corticosteroids and inflammatory bowel disease. Aliment Pharmacol Ther 1995;9(3):237-50.

Johannesdottir SA, Horvath-Puho E, Dekkers OM, Cannegieter SC, Jorgensen JO, Ehrenstein V, et al. Use of glucocorticoids and risk of venous thromboembolism: A nationwide population-based case-control study. JAMA Intern Med 2013;173:743–52.

Souverein PC, Berard A, Van Staa TP, Cooper C, Egberts AC, Leufkens HG, et al. Use of oral glucocorticoids and risk of cardiovascular and cerebrovascular disease in a population based case-control study. Heart 2004;90:859–65.

วลัยลักษณ์ เมธาภัทร และ มาศวลัย ลิขิตธนเศรษฐ์. ชุดทดสอบอิมมูโนโครมาโทกราฟีสำหรับเดกซ์ซาเมธาโซนและเพร็ดนิโซโลนในผลิตภัณฑ์สมุนไพร.วารสารวิชาการสาธารณสุข 2553;19(1):59-70.

สำนักยาและวัตถุเสพติด กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์.ชุดทดสอบสเตียรอยด์ (หลักการ TLC). [อินเทอร์เน็ต]. 2565 [เข้าถึงเมื่อ 23 พ.ย. 2566]. เข้าถึงได้จาก: https://website.bdn.go.th/th/service/detail/nGI4ZDWewEb3QWewEb3Q/nGy4ANWewEb3QWewEb3Q.

อรุณรัตน์ สัณฐิติกวินสกุล มหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม. การทดลองการวิเคราะห์หาองค์ประกอบและพิสูจน์เอกลักษณ์ของสารผสมโดยวิธีทางโครมาโทกราฟีแบบแผ่นเคลือบ(TLC). [อินเทอร์เน็ต]. 2559 [เข้าถึงเมื่อ 23 พ.ย.2566]. เข้าถึงได้จาก: https://pws.npru.ac.th/arunrat/data/files/การทดลอง%20TLC.pdf.

ดวงทิพย์ อรัญดร, สรียา แซ่ลิ่ม, สิรินทิพย์ วิชญวรนันท์, อภิณัฐ คล้ายสถิต และ สุกัญญา เดชอดิศัย. การศึกษาการปนปลอมของสารสเตียรอยด์ เพรดนิโซโลน และเด็กซ่าเมทธาโซนในยาแผนโบราณในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา. วารสารมหาวิทยาลัยทักษิณ 2553;1:20-30.

ชมพูนุท นุตสถาปนา. การปลอมปนยาแผนปัจจุบันในยาจากสมุนไพรทั่วประเทศ พ.ศ. 2551-2552. วารสารอาหารและยา. 2555;19(3),71-6.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-12-30

How to Cite

จรภักดี ว., & สงวนสิทธิอนันต์ ส. (2023). การทดสอบปนเปื้อนของสารสเตียรอยด์ในผลิตภัณฑ์ยาสมุนไพรในอำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี. วารสารสิ่งแวดล้อมศึกษาการแพทย์และสุขภาพ, 8(4), 413–418. สืบค้น จาก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/hej/article/view/268923