ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการป้องกันการคลอดก่อนกำหนดของหญิงตั้งครรภ์ จังหวัดราชบุรี
คำสำคัญ:
พฤติกรรมการป้องกันการคลอดก่อนกำหนด, การคลอดก่อนกำหนด, หญิงตั้งครรภ์บทคัดย่อ
การวิจัยเชิงสำรวจแบบย้อนหลังนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) พฤติกรรมการป้องกันการคลอดก่อนกำหนดของ
หญิงตั้งครรภ์ จังหวัดราชบุรี 2) ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการป้องกันการคลอดก่อนกำหนดของหญิงตั้งครรภ์ จังหวัดราชบุรี กลุ่มตัวอย่างเป็นหญิงตั้งครรภ์ที่คลอดครบกำหนดและคลอดไม่เกิน 6 สัปดาห์ จำนวน 213 คน เครื่องมือวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณณา สถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และสถิติการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ
ผลการวิจัยพบว่าคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการป้องกันการคลอดก่อนกำหนดโดยรวม อยู่ในระดับดี (M=3.84, SD= 0.43) ด้านที่มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ การฝากครรภ์และสังเกตอาการ และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ด้านอาหารและโภชนาการอยู่ในระดับดี (M = 4.62, SD= 0.54, M =3.80, SD = 0.77) ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการป้องกันการคลอดก่อนกำหนด ได้แก่ รายได้ จำนวนครั้งการฝากครรภ์คุณภาพ น้ำหนักที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ การรับรู้เกี่ยวกับการคลอดก่อนกำหนด และความรอบรู้ด้านสุขภาพในการป้องกันการคลอดก่อนกำหนด
References
Cunningham, F., Leveno, K., Bloom, S., Dashe, J., Hoffman, B., Casey, B., Spong, C. Preterm birth. In Williams Obstetrics. 25e New York, NY: McGraw-Hill Education; 2018.
น้ำผึ้ง นันทวงศ์. ความชุกและปัจจัยเสี่ยงที่ เกี่ยวข้องกับการคลอดก่อนกำหนดในหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น โรงพยาบาลชัยภูมิ. ชัยภูมิเวชสาร 2022; 42(2): 69-81.
Janz, N. K., & Becker, M. H. The Health Belief model: A decade later. Health Education Quarterly 1984; 11:1-47.
กรรณิกา เพ็ชรักษ์, อุตม์ชญาน์ อินทเรือง, และ ฝนทอง จิตจำนง. ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้การคลอดก่อนกำหนดและพฤติกรรมการป้องกัน การคลอดก่อนกำหนดในมารดาหลังคลอด. วารสารการแพทย์โรงพยาบาลศรีสะเกษ สุรินทร์ บุรีรัมย์ 2562; 34(1): 87-100.
จิราจันทร์ คณฑา. การรับรู้เกี่ยวกับการคลอดก่อนกำหนดและพฤติกรรมการป้องกันการคลอดก่อน กำหนดของหญิงตั้งครรภ์. ราชาวดีสาร วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุรินทร์ 2561; 8(1): 1-12.
พิชญาภัสสร์ วรรณศิริกุล, สมยศ ศรีจารนัย, ไสววรรณ ไผ่ประเสริฐ, และ ธนตพร โพชสาลี. พหุปัจจัยเชิงนิเวศวิทยาต่อการป้องกันการคลอดก่อนกำหนด เขตสุขภาพที่ 4 (รายงานผลงานวิจัย). [อินเตอร์เน็ต]. 2566 [สืบค้นเมื่อ 17 มิ.ย.66] https://region4.anamai.moph.go.th/knowledge/academic/category/view?id=204
ชุติมา เทียนชัยทัศน์, กนกภรณ์ อ่วมพราหมณ์, นภาภรณ์ เกตุทอง,และ ชณุตพร สมใจ. ปัจจัย ทำนายพฤติกรรมการป้องกันภาวะเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนดของหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น. วารสารวิจัยและนวัตกรรมทางสุขภาพ 2565; 5(1): 35-46.
วิทมา ธรรมเจริญ, นิทัศนีย์ เจริญงาม และ ญาดาภา โชติดิลก. ปัจจัยทำนายการคลอดก่อนหนดของหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่นที่โรงพยาบาลพระปกเกล้าจันทบุรี. วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 2561; 10(19): 188-200
อุ่นใจ กออนันตกุล. บทความวิชาการ:การคาดการณ์การคลอดก่อนกำหนด เพื่อป้องกันรักษา. สูตินรีแพทย์สัมพันธ์ 2562; 28(1): 8-15.
คลังข้อมูลด้านการแพทย์และสุขภาพ (Health Data Center) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดราชบุรี [อินเตอร์เน็ต] 2566 [สืบค้นเมื่อ 15 มิ.ย.66] เข้าถึงจาก HDC - Dashboard (moph.go.th)
Faul, F., Erdfelder, E., Buchner, A., & Lang, A. G. Statistical power analyses using G*Power 3.1: Tests for correlation and regression analyses. Behavior Research Methods 2009; 41(4): 1149-1160.
สุนทรี ไชยเจริญ. ผลของโปรแกรมเสริมสร้างพลังอำนาจ แก่หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนด. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. สงขลา: 2563.
อัสมะ จารุ. ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการดูแล ตนเองของหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบความสำเร็จในการยับยั้งการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์; 2561.
ช่อทิพย์ ผลกุศล และศิริวรรณ แสงอินทร์. การรับรู้ ภาวะเสี่ยงของการตั้งครรภ์ พฤติกรรมสุขภาพ และความต้องการบริการ สุขภาพแบบองค์รวม ของหญิงตั้งครรภ์อายุมาก. [รายงานวิจัย] ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา; 2560.
อารยา ยวงนาค. การศึกษาลักษณะทางประชากรของมารดาที่มีการคลอดก่อนกำหนด. ราชาวดีสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีสุรินทร์ 2558; 5(1):29-41.
ช่อทิพย์ ผลกุศล และศิริวรรณ แสงอินทร์. ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล การรับรู้ภาวะเสี่ยงของการตั้งครรภ์ และพฤติกรรมสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์อายุมาก. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 2564; 29(2): 24-35.
วิลาสินี บุตรศรี และ อัญสุรีย์ ศิริโสภณ. ปัจจัยทํานายพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพในหญิงตั้งครรภ์ที่รับบริการฝากครรภ์ใน โรงพยาบาลชุมชน จังหวัดนครสวรรค์. วารสารสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา 2563; 5(1): 60-70.
อัสมะ จารุ, วรางคณา ชัชเวช และ สุรีย์พร กฤษเจริญ. ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการดูแล ตนเองของหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบความสำเร็จใน การยับยั้งการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด.วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ 2562;39(1): 79-92