การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือด : กรณีศึกษา 2 ราย
คำสำคัญ:
การพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบตัน, การพยาบาลผู้ป่วยได้รับยาละลายลิ่มเลือดบทคัดย่อ
การศึกษานี้เป็นกรณีศึกษามีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันระยะเฉียบพลันที่ได้รับยาละลาย ลิ่มเลือด โดยศึกษาเปรียบเทียบการพยาบาลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันระยะเฉียบพลันที่ได้รับยา ละลายลิ่มเลือด 2 ราย เก็บข้อมูลจากแบบบันทึกข้อมูล รวบรวมข้อมูลจากเวชระเบียนผู้ป่วย การสัมภาษณ์ญาติและการสังเกต วิเคราะห์ข้อมูลเปรียบเทียบ และ วางแผนการพยาบาลโดยใช้กระบวนการพยาบาล
ผลการศึกษาพบว่า การรักษาโรคหลอดเลือดสมองชนิดขาดเลือดในปัจจุบันโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดสามารถให้การรักษาได้ โดยความรวดเร็ว ในการรักษาถือเป็นสิ่งที่สำคัญที่สุด เพราะยิ่งปล่อยไว้ จะทำให้สมองเกิดความเสียหายมากขึ้น จำเป็นต้องได้รับการรักษาภายใน ระยะเวลา 3-4.5 ชั่วโมงยาที่แพทย์มักใช้ในการรักษาได้แก่ ยาละลายลิ่มเลือด ยาต้านเกล็ดเลือด ยาต้านการแข็งตัวของเลือด ผู้ป่วยทั้ง 2 ราย ได้รับการรักษาเข้าระบบ stroke fast track และได้ยาละลายลิ่มเลือด rt-PA
References
World Stroke Organization. (Stroke/ Cerebrovascular Disease [CVD]/ Cerebrovascular Accident [CVA]) [Internet]. [cited 2023 Mar 29]. Available from: https://www. world-stroke.org/news-and-blog/news/ global-declaration-on-stroke-commit ments-for-facing-stroke-new-delhi india-september-8th-2023
Murray, C. J., & Lopez, A. D. Alternative Projections of Mortality and Disability by Cause 1990- 2020: Global Burden of Diseases Study. Lancet 1997, 349: 1498- 1504.
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2560). โรคหลอดเลือดสมองเสียชีวิต 1 คน/ 6 วินาที.(ออนไลน).แหล่งที่มา:https://www.thaihealth.or.th/Content/39010.
World Health Organization Meeting on Community Control of Stroke and Hypertension. (1973). Control of stroke in the community: methodological considerations and protocol of WHO register. CVD/s/73.6 Geneva: WHO 1973.
ดิษนัย ทัศนพูนชัย. (2562). Strokeหรือโรคหลอดเลือดสมอง.(ออนไลน์). แหล่งที่มา:http://www.sikarin.com/content/detail/131/stroke หรือโรคหลอดเลือดสมอง.
นิตยา พันธุเวทย์, และลินดา จําปาแก้ว. (2558). ประเด็นสารรณรงค์วันอัมพาตโลก ปี พ.ศ. 2557. นนทบุรี:กระทรวงสาธารณสุข.
ศูนย์สิรินธรเพื่อการฟื้นฟูสมรรถภาพทางการแพทย์แห่งชาติ.(2551).อัมพาตกบโรคหลอดเลือดสมอง.http://www.followhissteps.com/web_health/cva.html (Accessed 13/2/2567)
AHA. (2008).High Blood Pressure Increases Your Risk for Stroke. http://www.americaneart.org/presenter.jhtml?identifier=2153(Accessed 7/2/2567)
Shilling McCann, J.A (2007). Best Practice Evidence Based Nursing Procedures. Philadelphia: Lippincott Williums & Wilkins.
Smeltzer,S.M & Bare, B.G. (2008). Medical Surgical Nursing. Philadelphia: Lippincott William& Wilkins.
ลินดา สันตวาจา และศรัญญา บุญโญ. (2558).การพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองใน โรงพยาบาลพระนั่งเกล้า จังหวัดนนทบุรี.วารสารกองการพยาบาล, 42(1), 91-112.
วรรณวรา ไหลวารินทร์ และกัญญา เลี่ยนเครือ. (2559).การพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง โรงพยาบาลพหลพลพยุหเสนา.วารสารกองการพยาบาล, 43(3),92-113.
สายนาท พลไชโย. (2559). การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองภายใต้บริบทของโรงพยาบาลตติยภูมิ.วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม, 6(1),26-35.