วารสารวิจัยและนวัตกรรม สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร https://so06.tci-thaijo.org/index.php/ivebjournal <p>วารสารวิจัยและนวัตกรรม สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร เป็นวารสารที่จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อเป็นสื่อกลางในการเผยแพร่ผลงานวิจัยและนวัตกรรมในทุกสาขาวิชาของครู คณาจารย์ นักวิชาการ และนักวิจัยทั้งภายในและภายนอกสถาบัน และเป็นศูนย์รวมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและผลงานต่าง ๆ ของนักเทคโนโลยีด้านอาชีวศึกษา เป็นวารสารราย 6 เดือน จัดพิมพ์เผยแพร่ปีละ 2 ฉบับ ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน และฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม</p> th-TH [email protected] (กองบรรณาธิการ) [email protected] (นางสาวศิริวิมล โพธิ์ไพร) Tue, 26 Dec 2023 00:00:00 +0700 OJS 3.3.0.8 http://blogs.law.harvard.edu/tech/rss 60 The Transition Period for the Development of Vocational Education Management in Thailand (Before 1957-2021) https://so06.tci-thaijo.org/index.php/ivebjournal/article/view/264967 <p> <span class="fontstyle0">The study of the period of vocational education in Thailand reflects the consideration of social and cultural contexts integrated into the way of life of citizens. The study results were from literature synthesis and interviews with those involved in government agencies and educational institutions. The researcher has linked time boundaries to the development of global social dynamics. This led to the backwardness of education management and led to the adoption of new ideas by developed countries. As a result, vocational education management in Thailand takes into account the geographical advantages linked to career choices. Until there is a vocational education policy to be in line with the direction of economic development. However, the Career Development Directions study before 1957 to 2021 has shown that the concept of education was the result of a unilateral effort by the government and was not trusted by schools and enterprises. Although the current focus is on building a network of cooperation between different sectors. But it also reflects the lack of readiness in many areas that need mechanisms to drive education.</span> </p> Kittipong Pearnpitak Copyright (c) 2023 วารสารวิจัยและนวัตกรรม สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/ivebjournal/article/view/264967 Tue, 26 Dec 2023 00:00:00 +0700 ชุดฝึกอบรมการประยุกต์ใช้งานไมโครคอนโทรลเลอร์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/ivebjournal/article/view/266252 <p><span style="font-weight: 400;">การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ1) พัฒนาชุดฝึกอบรมการประยุกต์ใช้งานไมโครคอนโทรลเลอร์ และ2) เพื่อหาคุณภาพของชุดฝึกอบรมการประยุกต์ใช้งานไมโครคอนโทรลเลอร์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ในครั้งนี้ประกอบด้วยแผงอุปกรณ์สำหรับการทดลอง ใบงานการทดลอง 7 ใบงาน และแบบประเมินคุณภาพ โดยประเมินคุณภาพจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 10 ท่านซึ่งเป็นบุคลากรทางด้านอาชีวศึกษา กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี จำนวน 30 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า การประเมินคุณภาพ ชุดฝึกอบรมการประยุกต์ใช้งานไมโครคอนโทรลเลอร์ ด้านใบงานการทดลองมีคุณภาพอยู่ในระดับดี (</span><span style="font-weight: 400;"> = 4.47, S.D. = 0.18) และด้านแผงอุปกรณ์สำหรับการทดลอง มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก (</span><span style="font-weight: 400;"> = 4.52, S.D. = 0.14) และในภาพรวมพบว่า ชุดฝึกอบรมการประยุกต์ใช้งานไมโครคอนโทรลเลอร์มีคุณภาพอยู่ในระดับดี (</span><span style="font-weight: 400;"> = 4.49, S.D. = 0.04) ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่ตั้งไว้</span></p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p><span style="font-weight: 400;">The purposes of this research were 1) to develop a micro-controller application training kit, and, 2) to find out the quality of the micro-controller application training lit. The research tools included a panel of equipment for the experiment, 7 experimental worksheets and a quality assessment form being assessed by 10 experts who were vocational education personnel. The sample group consisted of 30 undergraduate students. The statistics used in data analysis included percentages, means, and standard deviations. The research results found that about the quality assessment, the quality of the experimental worksheets was at a good level (</span><span style="font-weight: 400;">= 4.47, S.D. = 0.18) and the equipment panels for the experiments were of good quality (</span><span style="font-weight: 400;">= 4.47, S.D. = 0.18). The quality was at a very good level (</span><span style="font-weight: 400;">= 4.52, S.D. = 0.14) and overall it was found that In overall, the quality of the microcontroller application training kit was good (</span><span style="font-weight: 400;">= 4.49, S.D. = 0.04), which was in line with the set assumptions.</span></p> soontorn kongsintu, สัณห์ สุขประชา Copyright (c) 2023 วารสารวิจัยและนวัตกรรม สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/ivebjournal/article/view/266252 Tue, 26 Dec 2023 00:00:00 +0700 กลยุทธ์การสื่อสารเพื่อสืบสานอัตลักษณ์ชุมชนท่าแร่ จังหวัดสกลนคร https://so06.tci-thaijo.org/index.php/ivebjournal/article/view/265064 <p><span style="font-weight: 400;">การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงกลยุทธ์การสื่อสารเพื่อสืบสานอัตลักษณ์ของชุมชนท่าแร่ จังหวัดสกลนคร เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เก็บรวมรวมข้อมูลการวิจัยผ่านเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การสัมภาษณ์เชิงลึก (In depth Interview) การสังเกต (Observation) การสนทนากลุ่ม (Focus Group) จากผู้ให้ข้อมูลหลักที่มีส่วนได้ส่วนเสียในการธำรงรักษาอัตลักษณ์ไว้ให้คงอยู่คู่ชุมชนจำนวน 17 คน ผลการศึกษาพบว่า องค์ประกอบของการสื่อสารกลยุทธ์ ในประเด็นเหล่านี้</span><span style="font-weight: 400;"><br /></span><span style="font-weight: 400;">ซึ่งประกอบด้วย 1) สถานการณ์ 2) วัตถุประสงค์ 3) ข้อมูลประกอบในการวาง 4) เป้าหมาย 5) ผู้รับสาร </span><span style="font-weight: 400;"><br /></span><span style="font-weight: 400;">6) ข้อความหลักที่เป็นหัวใจสำคัญของการสื่อสาร 7) กลยุทธ์ วิธีการ ที่เหมาะสม แล้วจึงนำไปสู่ การสร้างกลยุทธ์ในการสื่อสารเพื่อสืบสานอัตลักษณ์ของชุมชนท่าแร่ จังหวัดสกลนคร ผ่านเครื่องมือ TOWS Matrix ได้ 4 ลักษณะ ดังนี้ 1) กลยุทธ์เชิงรุก คือ การนำอัตลักษณ์ของชุมชนที่มีความโดน นำเสนอผ่านช่องทางการสื่อสารที่ทันสมัย เพื่อให้เข้าถึงกลุ่มผู้รับสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยการวิจัยครั้งนี้ใช้การสื่อสารผ่านสื่อมวลชนประเภทสิ่งพิมพ์และหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-Book) 2) กลยุทธ์เชิงแก้ไข คือ ควรมีการจัดการอบรมเชิงปฏิบัติการการใช้เครื่องมือการสื่อสารที่ทันสมัยเพื่อสื่อสารถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับอัตลักษณ์ชุมชนให้กับผู้ส่งสาร ถ่ายทอดไปยังกลุ่มเยาวชนคนรุ่นใหม่ในชุมชน เพื่อลดช่องว่างระหว่างยุคสมัยของ</span><span style="font-weight: 400;"><br /></span><span style="font-weight: 400;">กลุ่มคน และเป็นการส่งต่อถ่ายทอดอัตลักษณ์ที่ดีงาม 3) กลยุทธ์เชิงป้องกัน คือ การจัดการมีส่วนร่วมของชุมชนในการรวบรวมข้อมูลอัตลักษณ์ที่มีอยู่ให้ครอบคลุมในทุก ๆ ด้าน เพื่อนำข้อมูลอัตลักษณ์ไปใช้ในการเสนอบนเวทีสาธารณะ เช่น การประชุมวางแผนการท่องเที่ยวของหน่วยงานภาครัฐ หรือ การวางกลยุทธ์การสื่อสารการท่องเที่ยวของหน่วยงานภาคเอกชน บูรณาการข้อมูลอัตลักษณ์ของชุมชนระหว่างภาคส่วนให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน 4) กลยุทธ์เชิงรับ คือ พยายามลดความรุนแรงของการสื่อสารระหว่างกลุ่มคนที่ยุคสมัยของวัยที่แตกต่างกัน (Generation Gap) ที่มีทัศนคติความเชื่อ ค่านิยม แตกต่างกัน ปรับทัศนคติให้เกิดความเข้าใจ โดยการเปิดเวทีสาธารณะเพื่อแลกเปลี่ยนแนวความคิดระหว่างกลุ่มผู้มีองค์ความรู้ในเรื่องอัตลักษณ์ของชุมชนท่าแร่ กลุ่มเยาวชนในชุมชน และภาคีเครือข่ายหน่วยงานทางภาครัฐและเอกชน ปรับให้เกิดความสมดุล เพื่อก่อให้เกิดความเข้าใจในสิ่งที่อัตลักษณ์ชุมชนกำลังเผชิญอยู่ในปัจจุบัน และอนาคตที่กำลังจะเกิดขึ้น </span></p> <p><strong>คำสำคัญ : </strong><span style="font-weight: 400;">กลยุทธ์การสื่อสาร, อัตลักษณ์ชุมชน</span></p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p><span style="font-weight: 400;">The purpose of this research was to study communication strategies to inherit the identity of Tha Rae community. Sakon Nakhon Province is a qualitative research. Gather research data through related documents and research. in-depth interview,observation, group discussion.Provide key information that has a stake in maintaining the identity to remain in the community, totaling 17 people. The study found that Elements of Strategic Communication Must study these issues, which consist of 1) situations 2) objectives 3) supporting information in planning 4) goals 5) audiences 6) key messages at the heart of communication 7) strategies and appropriate methods then lead to Creating a communication strategy to preserve the identity of the Tha Rae community Sakon Nakhon Province through the TOWS Matrix tool in 4 ways as follows 1) Proactive strategy is to bring the identity of the community that is presented through modern communication channels. in order to effectively reach the audience This research uses communication through print media and e-books. 2) The corrective strategy is that there should be a workshop on the use of modern communication tools to communicate knowledge about community identity to messengers. transmitted to the new generation of youth in the community to reduce the gap between the generations of the group and is a way to pass on a good identity. 3) Preventive strategy is to manage the participation of the community in collecting existing identity information to cover all aspects in order to use the identity information in public forums such as travel agency planning meetings. government sector or tourism communication strategy formulation of private sector agencies Integrate community identity information between sectors in the same direction. 4) Passive strategy is trying to reduce the intensity of communication between groups of people in different age groups (Generation Gap) with different attitudes, beliefs, values, adjusting attitudes to create understanding. By opening a public forum to exchange ideas between people who have knowledge on the identity of the Tha Rae community. community youth groups and network of government and private agencies adjust to balance To contribute to the understanding of what community identity is facing today. and the upcoming future.</span></p> Sittisak suwannee Copyright (c) 2023 วารสารวิจัยและนวัตกรรม สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/ivebjournal/article/view/265064 Tue, 26 Dec 2023 00:00:00 +0700 การบริหารเครือข่ายความร่วมมือของสถานศึกษากับสถานประกอบการ ในการจัดการอาชีวศึกษาของวิทยาลัยการอาชีพในจังหวัดลำปาง https://so06.tci-thaijo.org/index.php/ivebjournal/article/view/267083 <p><span style="font-weight: 400;">การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบการบริหารเครือข่ายความร่วมมือของสถานศึกษากับสถานประกอบการในการจัดการอาชีวศึกษาของวิทยาลัยการอาชีพในจังหวัดลำปาง 2) ศึกษาสภาพการบริหารเครือข่ายความร่วมมือของสถานศึกษากับสถานประกอบการในการจัดการอาชีวศึกษาของวิทยาลัยการอาชีพในจังหวัดลำปาง 3) ศึกษาแนวทางการบริหารเครือข่ายความร่วมมือของสถานศึกษากับสถานประกอบการในการจัดการอาชีวศึกษาของวิทยาลัยการอาชีพในจังหวัดลำปาง ประชากร ได้แก่ ผู้อำนวยการ รองผู้อำนวยการ หัวหน้างานความร่วมมือ หัวหน้างานทวิศึกษา และหัวหน้าแผนกวิชา สังกัดวิทยาลัยการอาชีพในจังหวัดลำปาง เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ 1) แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง สัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน 2) แบบสอบถามสภาพการบริหารเครือข่ายความร่วมมือของสถานศึกษากับสถานประกอบการในการจัดการอาชีวศึกษาของวิทยาลัยการอาชีพในจังหวัดลำปาง ผู้อำนวยการ รองผู้อำนวยการ และหัวหน้างานความร่วมมือ หัวหน้างานอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี หัวหน้าแผนกวิชา สังกัดวิทยาลัยการอาชีพในจังหวัดลำปาง จำนวน 41 คน 3) ประเด็นการสนทนากลุ่มของผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารการศึกษา การบริหารความร่วมมือของสถานศึกษากับสถานประกอบการในการจัดการอาชีวศึกษาและสถานประกอบการจำนวน 7 คน </span><span style="font-weight: 400;"><br /></span><span style="font-weight: 400;">4) แบบสอบถามเพื่อยืนยันความเหมาะสมของแนวทางการบริหารเครือข่ายความร่วมมือของสถานศึกษากับสถานประกอบการในการจัดการอาชีวศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา</span></p> <p><span style="font-weight: 400;">ผลการวิจัย พบว่า 1) องค์ประกอบการบริหารเครือข่ายความร่วมมือของสถานศึกษากับสถานประกอบการในการจัดการอาชีวศึกษาของวิทยาลัยการอาชีพในจังหวัดลำปางประกอบด้วย (1) การกำหนดสมาชิกเครือข่าย (2) การกำหนดวัตถุประสงค์ร่วมกัน (3) การมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน (4) การสื่อสาร ประสานงานเครือข่าย และ (5) การติดตามประเมินผล และปรับปรุง 2) สภาพการบริหารเครือข่ายความร่วมมือของสถานศึกษากับสถานประกอบการในการจัดการอาชีวศึกษาของวิทยาลัยการอาชีพในจังหวัดลำปาง ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (3) แนวทางการบริหารเครือข่ายความร่วมมือของสถานศึกษากับสถานประกอบการในการจัดการอาชีวศึกษาของวิทยาลัยการอาชีพในจังหวัดลำปาง ประกอบด้วย (1) ด้านการวางแผน 3 แนวทาง (2) ด้านการจัดองค์การ 3 แนวทาง (3) ด้านการนำองค์การ 3 แนวทาง (3) ด้านการควบคุม จำนวน 3 แนวทาง</span></p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p><span style="font-weight: 400;">This research article aimed to: 1) Study the components of administrating the cooperation network of education institutions and enterprises in vocational management of the Industrial and Community Education College in Lampang province 2) Investigate the current status of administrating the cooperation network 3) Explore the guidelines for administrating the cooperation network. The study population includes directors, deputy directors, Division, and department heads affiliated with vocational colleges in Lampang province. The instruments were: 1) semi-structured interviews using a semi-structured format with five qualified interviewees; 2) questionnaires to assess the current state of administrating the cooperation network of education institutions and enterprises in vocational management of the Industrial and Community Education College in Lampang province. 3) group discussions to explore relevant topics. 4) questionnaires to confirm the appropriateness. The statistics used in data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, and conducting content analysis.</span></p> <p><span style="font-weight: 400;">The research findings are as follows: 1) The components of administrating the cooperation network including (1) the assignation of network members. 2) establishment of joint objectives (3) the participation in processing of the networks. (4) the communication and interaction. (5) Monitoring, evaluation, and continuous improvement 2) The overall state of network management is assessed to be at a high level. 3) The guidelines for administrating the cooperation network</span><strong>,</strong> <span style="font-weight: 400;">consisting of 3 guidelines of planning, 3 guidelines of organizing, 3 guidelines of leading, 3 guidelines of controlling.</span></p> ธนากร อินตา Copyright (c) 2023 วารสารวิจัยและนวัตกรรม สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/ivebjournal/article/view/267083 Tue, 26 Dec 2023 00:00:00 +0700 การศึกษาแนวทางการบริหารงานระบบการดูแลช่วยเหลือผู้เรียน ฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียนนักศึกษาในการป้องกันปัญหาการทะเลาะวิวาทของผู้เรียนในสถานศึกษา สังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดปทุมธานี https://so06.tci-thaijo.org/index.php/ivebjournal/article/view/265109 <p><span style="font-weight: 400;">การศึกษาวิจัยครั้งนี้</span> <span style="font-weight: 400;">มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและครู ที่มีต่อการบริหารงานระบบการดูแลช่วยเหลือผู้เรียน 2) เปรียบเทียบปัจจัยส่วนบุคคลกับระดับความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและครูที่มีต่อการบริหารงานระบบการดูแลช่วยเหลือผู้เรียน และ 3) เสนอแนะแนวการบริหารงานระบบการดูแลช่วยเหลือผู้เรียน ของฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียนนักศึกษาในการป้องกันปัญหาการทะเลาะวิวาทของผู้เรียนในสถานศึกษาสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดปทุมธานี ดำเนินการวิจัยโดยใช้แบบสอบถามที่มีค่าความความสอดคล้องและค่าความเที่ยงทั้งฉบับเท่ากับ 0.95 และ 0.93 กับผู้บริหารและครูผู้สอนของสถานศึกษาในสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดปทุมธานี ที่ได้จากการสุ่มแบบแบ่งชั้น จำนวน 160 คน ใช้สถิติ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที (t-test) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) การทดสอบความแตกต่างค่าเฉลี่ยรายคู่ด้วย LSD และการวิเคราะห์เนื้อหา </span></p> <p><span style="font-weight: 400;">ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารงานระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนฝ่ายพัฒนากิจการนักเรียนนักศึกษาในการป้องกันปัญหาการทะเลาะวิวาทของผู้เรียนในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการรู้จักผู้เรียนเป็นรายบุคคล 2) ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนที่มีเพศและอายุต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารงานระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนในภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ระดับการศึกษาและประสบการณ์การทำงานต่างกันมีความคิดเห็นไม่แตกต่างกัน 3) แนวทางการบริหารงานระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน คือ สถานศึกษาควรแจ้งผล ติดตาม ช่วยเหลือผู้เรียนที่มีปัญหาด้านการทะเลาะวิวาทส่งต่อไปยังผู้ปกครอง หรือหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องอย่างสม่ำเสมอ </span></p> <p><strong>ABSTRACT</strong></p> <p><span style="font-weight: 400;">The research aimed to study 1) The level of opinions of school administrators and teachers towards the administration of the student care and assistance system. 2)</span> <span style="font-weight: 400;">Compare personal factors with the level of opinions of school administrators and teachers regarding the administration of the student care and support system. 3) The suggesting guidelines for the administration of the student care and support system of the student affairs for student quarrel problems under PathumThani Provincial Vocational Education. The conducting research using a questionnaire with concordance and reliability values of 0.95 and 0.93 with administrators and teachers of vocational educational institutions in Pathum Thani Province. Obtained from stratified random sampling of 160 people using statistics: frequency, percentage, mean, standard deviation. T-test (t-test), one-way ANOVA, pairwise mean difference test with LSD, and content analysis.</span></p> <p><span style="font-weight: 400;">The results of the research were as follows: 1) The administration of the student affairs development department's student care and support system in preventing student quarrels in general and in each aspect is at a high level. The aspect with the highest average was knowing each student individually. 2) The school administrators and teachers of different genders and ages There was a significant difference in opinions on the administration of the overall student support system at the .05 level. Different levels of education and work experience had no different opinions. 3) The guidelines for the management of the learner support system are that educational institutions should report the results, follow up, and help students who have conflict problems and forward them to their parents. or other related agencies regularly.</span></p> Prapai Kaewwilai Copyright (c) 2023 วารสารวิจัยและนวัตกรรม สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/ivebjournal/article/view/265109 Tue, 26 Dec 2023 00:00:00 +0700 ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารที่ส่งผลต่อความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ในกรุงเทพมหานคร https://so06.tci-thaijo.org/index.php/ivebjournal/article/view/263800 <p><span style="font-weight: 400;">The research objectives were to (1) study the innovative leadership of college administrators, (2) explore the learning organization of colleges, (3) analyze the relationship between innovative leadership of college administrators and learning organization of colleges; and, (4) analyze the innovative leadership of college administrators affecting the being of learning organization of the Colleges in Bangkok under the Office of Vocational Education Commission. The research sample comprised 279 college teachers in Bangkok under the Office of Vocational Education Commission. The instrument used was a questionnaire. Statistics used in data analysis were the mean, standard deviation, Pearson’s product- moment correlation coefficient, and stepwise multiple regression analysis. The findings were: (1) the overall of learning organization of school administrators were rated at the high level with the highest to the lowest average as follows: supporting innovation, having a changing vision, innovation networking, creating an innovation atmosphere, and having innovative thinking skills; (2) the overall of learning organization of colleges were rated at the high level with the highest to the lowest average as follows: creating learning dynamics, empowering members of the organization, reforming the organization for excellence in learning, knowledge management, and application of information technology; (3) innovative leadership of college administrators related to learning organization of colleges were positively correlated at a high level; and; (4) innovative leadership of college administrators affected the being of learning organization of school were the following: supporting innovation, having a changing vision, innovation networking and having innovative thinking skills. All could be able to jointly predict the learning organization of colleges at 79.80 percent with a statistical significance at the .01 level.</span></p> Suchittra Koetphon Copyright (c) 2023 วารสารวิจัยและนวัตกรรม สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/ivebjournal/article/view/263800 Tue, 26 Dec 2023 00:00:00 +0700 The ผลการใช้คอนเทนต์รีวิวอาหารร่วมกับกิจกรรมการสื่อสารโดยใช้เกมเป็นฐานเพื่อส่งเสริมการขายของผู้ประกอบการรายย่อยในมหาวิทยาลัยผ่านการเรียนรู้ด้วยการบริการสังคม https://so06.tci-thaijo.org/index.php/ivebjournal/article/view/267458 <p><span style="font-weight: 400;">งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ1) ออกแบบและผลิตคอนเทนต์รีวิวอาหารร่วมกับกิจกรรมการสื่อสารโดยใช้เกมเป็นฐานเพื่อส่งเสริมการขายของผู้ประกอบการรายย่อยในมหาวิทยาลัย 2) เพื่อประเมินผลการรับรู้และความพึงพอใจของผู้ชมที่มีต่อสื่อและกิจกรรมที่พัฒนาขึ้น และ3) เพื่อศึกษาผลประเมินตนเองของนักศึกษาผ่านการเรียนรู้ด้วยการบริการสังคม เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย 1) คอนเทนต์รีวิวอาหารบนโซเชียลมีเดียร่วมกับกิจกรรมการสื่อสารโดยใช้เกมเป็นฐาน 2) แบบประเมินคุณภาพ 3) แบบประเมินผลการรับรู้ 4) แบบประเมินความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่าง 5) แบบประเมินตนเองผ่านการเรียนรู้ด้วยการบริการสังคมในรายวิชา ETM358 Marketing Communication ภาคการศึกษาที่ 2/2565 โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีเลือกแบบเจาะจงจากผู้ประกอบการรายย่อยที่เข้าร่วมโครงการเป็นเวลาไม่ต่ำกว่า 1 เดือน และเป็นผู้ชมที่ยินดีตอบแบบสอบถาม จำนวน 30 คน สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test ผลการวิจัยพบว่า ผลการออกแบบและพัฒนาสื่อโปสเตอร์และเขียนคอนเทนต์รีวิวอาหารและเครื่องดื่มจำนวน 30 ชิ้นจาก 30 ร้านค้า วิดีโอคอนเทนต์ 7 ชิ้น และกิจกรรมการสื่อสารโดยใช้เกมเป็นฐาน จำนวน 1 กิจกรรม แล้วจึงนำไปให้ผู้เชี่ยวชาญจำนวนด้านละ 3 ท่านประเมินคุณภาพ พบว่า 1) ผลการประเมินคุณภาพด้านเนื้อหาและด้านสื่อการนำเสนออยู่ในระดับดีมาก 2) ผลประเมินด้านการรับรู้ของผู้ชมอยู่ในระดับมากที่สุด ผลประเมินความพึงพอใจของผู้ชมอยู่ในระดับมาก และ3) ผลประเมินตนเองผ่านการเรียนรู้ด้วยการบริการสังคมมีผลประเมินหลังเรียนสูงกว่าก่อนการเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05</span></p> <p><strong>คำสำคัญ</strong><span style="font-weight: 400;"> : คอนเทนต์รีวิวอาหาร กิจกรรมการสื่อสารโดยใช้เกมเป็นฐาน ผู้ประกอบการรายย่อย การเรียนรู้ด้วยการบริการสังคม</span></p> <p> </p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p><span style="font-weight: 400;">The aims of this research were 1) to create and develop food review content together with a game-based communication activity to promote the sales of small entrepreneurs in the university; 2) to evaluate the audiences' perception and satisfaction to the media and activity developed; and; 3) to assess students' self-evaluation through social service learning. The tools employed in this research included: 1) food review content posted on social media, accompanied by a game-based communication activity, 2) quality assessment form, 3) Perception assessment form, 4) Satisfaction assessment form, and, 5) self-assessment form for social service learning as part of the ETM358 Marketing Communication course in the second semester of 2022. The data were collected through purposive sampling, selecting small entrepreneurs who had been involved in the project for a minimum of 1 month and were willing to respond to the questionnaire as the audiences. The statistical methods employed included mean, standard deviation, and t-test. The findings of the research were as follows: the design and development phase resulted in 30 food and beverage review posters, content from 30 different shops, 7 video contents, and 1 game-based communication activity. These materials were subsequently reviewed by 3 experts in each aspect to assess their quality. The results were as follow: 1) the evaluation indicated a very good level of quality in both the content and presentation media, as well as the activity itself, 2) he assessment of audiences perception revealed the highest level of positive response. Moreover, the satisfaction assessment demonstrated a high level of satisfaction among the small entrepreneurs, 3) the self-assessment conducted through social service learning exhibited a significant increase in learning evaluation after the program, with statistical significance at the .05 level.</span></p> กุลธิดา ธรรมวิภัชน์ Copyright (c) 2023 วารสารวิจัยและนวัตกรรม สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/ivebjournal/article/view/267458 Tue, 26 Dec 2023 00:00:00 +0700 The ผลการดำเนินงานตามพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของสถานศึกษา สังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดปทุมธานี https://so06.tci-thaijo.org/index.php/ivebjournal/article/view/265190 <p><span style="font-weight: 400;">การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาผลการดำเนินงานตามพระบรมราโชบายด้านการศึกษา และ 2) เปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริหารและครูตามพระบรมราโชบายด้านการศึกษา ของสถานศึกษาในสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดปทุมธานี ดำเนินการโดย การสอบถามความคิดเห็นจากผู้บริหารและครูของสถานศึกษาในสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดปทุมธานี โดยใช้วิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้นตามขนาดของสถานศึกษา ด้วยแบบสอบถามที่ผ่านการประเมินความสอดคล้องโดยผู้เชี่ยวชาญ และทดสอบค่าความเที่ยงได้เท่ากับ 0.97</span> <span style="font-weight: 400;">สถิติที่ใช้ ประกอบด้วย ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test, One-way ANOVA และ LSD </span></p> <p><span style="font-weight: 400;">ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการดำเนินงานตามพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษา ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการวางแผน อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมา คือ ด้านการตรวจสอบผลการดำเนินงาน ด้านการดำเนินงานและด้านการปรับปรุงผลการดำเนินงาน อยู่ในระดับมาก ตามลำดับ และ 2) ความคิดเห็นของผู้บริหารและครู จำแนกตามเพศ ระดับการศึกษา ตำแหน่งงาน ประสบการณ์การฝึกอบรมเกี่ยวกับการดำเนินงานตามพระบรมราโชบายด้านการศึกษา ในภาพรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05</span> <span style="font-weight: 400;">และ .01</span> <span style="font-weight: 400;">ยกเว้นด้านการวางแผนไม่แตกต่างกัน ส่วนความคิดเห็นจำแนกตามประสบการณ์การทำงาน ในภาพรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05</span> <span style="font-weight: 400;">และ .01</span></p> <p> </p> <p><strong>คำสำคัญ : </strong><span style="font-weight: 400;">พระบรมราโชบายด้านการศึกษา สถานศึกษาสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดปทุมธานี</span></p> <p><strong>ABSTRACT</strong></p> <p><span style="font-weight: 400;">The purposes of this research are to 1) study the results of the implementation of the Royal Decree Policy on Education and 2) compare the opinions of administrators and teachers according to the Royal Decree Policy on Education of Colleges in Pathumthani Provincial Vocational Education, carried out by asking for opinions from administrators and teachers of Colleges in Pathumthani Provincial Vocational Education Using a stratified random sampling method according to the size of the educational institution with a questionnaire that has been evaluated for consistency by experts. And the reliability test was 0.97. Statistics used included frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, One-way ANOVA, and LSD.</span></p> <p><span style="font-weight: 400;">The results of the research found that 1) The overall performance of the educational institution administrators according to the Royal Decree Policy on Education was at a high level. The side with the highest average is the planning aspect Followed by the inspection of operational results. Operational aspects and performance improvement aspects were at a high level, respectively, and 2) opinions of administrators and teachers were classified by gender, educational level, job position, and training experience regarding operations according to the Royal Decree Policy on Education. Overall each aspect was significantly different at the .05 and .01 levels, except for the planning aspect which was not different. As for opinions classified by work experience, overall and in each area, they were significantly different at the .05 and .01 levels.</span></p> Parichat Boonyaakrachart Copyright (c) 2023 วารสารวิจัยและนวัตกรรม สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/ivebjournal/article/view/265190 Tue, 26 Dec 2023 00:00:00 +0700 ผลการใช้การ์ตูนแอนิเมชัน 2 มิติ เพื่อเสริมสร้างการรู้เท่าทันสื่อของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนวัดยาง (มีมานะวิทยา) https://so06.tci-thaijo.org/index.php/ivebjournal/article/view/264111 <p><span style="font-weight: 400;">การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างการ์ตูนแอนิเมชัน 2 มิติ เพื่อเสริมสร้างการรู้เท่าทันสื่อด้านการประเมินสื่อของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ และ 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนจากการใช้แอนิเมชัน 2 มิติ เพื่อเสริมสร้างการรู้เท่าทันสื่อด้านการประเมินสื่อของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 กลุ่มเป้าหมายใช้วิธีเลือกแบบเจาะจงเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนวัดยาง (มีมานะวิทยา) จำนวน 14 คน เครื่องมือที่ใช้ในวิจัยคือ 1) การ์ตูนแอนิเมชัน 2 มิติ และ 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการรู้เท่าทันสื่อ ด้านการประเมินสื่อ </span><span style="font-weight: 400;"><br /></span><span style="font-weight: 400;">เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยการจัดการเรียนรู้ด้วยการ์ตูนแอนิเมชัน 2 มิติ การทดสอบก่อนและหลังเรียน สถิติการวิเคราะห์ข้อมูลใช้ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที </span></p> <p><span style="font-weight: 400;">ผลการวิจัย พบว่า 1) การ์ตูนแอนิเมชัน 2 มิติ เพื่อเสริมสร้างการรู้เท่าทันสื่อ ด้านการประเมินสื่อของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนวัดยาง (มีมานะวิทยา) มีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 ร้อยละของคะแนนเฉลี่ย E1/E2 เท่ากับ 88.37/86.79 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนโดยใช้การ์ตูนแอนิเมชัน 2 มิติ สูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 </span></p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p><span style="font-weight: 400;">The purposes of this study were to 1) create 2D animation cartoon to enhance Grade 8 students’ media literacy assessment in Wat Yang (Mee Ma Na) School to be effective according to the criteria, and 2) use 2D animation cartoon to enhance Grade 8 students’ media literacy assessment in Wat Yang (Mee Ma Na) School by comparing learning achievement before and after learning. Purposive sampling was used to determine a sample of 14 secondary students in Grade 8 from Wat Yang (Meemana Wittaya) School. The data was collected using the following instruments: 1) 2D Animation, and 2) an assessing media literacy test. The data were collected through learning with 2D animation, pre-tests and post-tests and analysed by using percentages, averages, standard deviations, and t-test. The statistics used included percentage, mean, standard deviation, t-test.</span></p> <p><span style="font-weight: 400;">The research's findings showed that 1) the efficiency of using 2D animation cartoon to enhance Grade 8 students’ media literacy assessments in Wat Yang (Mee Ma Na) School was higher than the benchmark of 80/80, percentages of the average E1/E2 score was 88.37/86.79, and 2) learning achievement was higher after learning with 2D Animation cartoon than before learning, at the statistically significant level of 0.05.</span></p> Nuttida Khoknin Copyright (c) 2023 วารสารวิจัยและนวัตกรรม สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/ivebjournal/article/view/264111 Tue, 26 Dec 2023 00:00:00 +0700 การพัฒนาระบบตอบกลับแบบอัตโนมัติตามแนวคิดแบบลีนสำหรับการบริการลูกค้า: กรณีศึกษา https://so06.tci-thaijo.org/index.php/ivebjournal/article/view/268166 <p><span style="font-weight: 400;">การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาระบบตอบกลับแบบอัตโนมัติตามแนวคิดแบบลีนสำหรับบริการลูกค้า และ 2) ศึกษาความพึงพอใจในการใช้ระบบตอบกลับแบบอัตโนมัติตามแนวคิดแบบลีนสำหรับการบริการลูกค้า กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย กลุ่มผู้ใช้ข้อมูล จำนวน 9 คน</span> <span style="font-weight: 400;">และกลุ่มลูกค้าที่เข้ามาใช้บริการระบบตอบกลับแบบอัตโนมัติ จำนวน 40 คน โดยทำการสุ่มตัวอย่างตามสะดวก เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วย ระบบตอบกลับอัตโนมัติ และแบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการใช้งานระบบตอบกลับแบบอัตโนมัติ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (</span><span style="font-weight: 400;">x</span><span style="font-weight: 400;">) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (</span><span style="font-weight: 400;">S.D.</span><span style="font-weight: 400;">) </span></p> <p><span style="font-weight: 400;">ผลการวิจัยพบว่า 1) ระบบตอบกลับแบบอัตโนมัติตามแนวคิดแบบลีนสำหรับบริการที่พัฒนาขึ้น มีการบริการข้อมูล 3 ส่วน ประกอบด้วย 1) ส่วนการออกแบบ ติดตั้งเครน 2) ส่วนสั่งซื้อสินค้า อุปกรณ์อะไหล่และบริการเสริม และ 3) ส่วนแจ้งซ่อม และเมื่อทำการประเมินคุณภาพของระบบตอบกลับแบบอัตโนมัติตามแนวคิดแบบลีนสำหรับการบริการลูกค้าสามารถสนับสนุนและรองรับการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพอยู่ในระดับดี (</span><span style="font-weight: 400;">x</span><span style="font-weight: 400;">=4.31 , S.D. =0.87</span><span style="font-weight: 400;">)</span> <span style="font-weight: 400;">และ 2) ผู้ใช้งานระบบตอบกลับแบบอัตโนมัติตามแนวคิดแบบลีนผ่านแอปพลิเคชันไลน์ของบริษัทมีความพึงพอใจต่อการใช้งานอยู่ในระดับมาก </span><span style="font-weight: 400;">x</span><span style="font-weight: 400;">=4.42, S.D. =0.58</span><span style="font-weight: 400;"> </span></p> <p><strong>คำสำคัญ : </strong><span style="font-weight: 400;">ระบบตอบกลับอัตโนมัติ, แนวคิดแบบลีน, การบริการลูกค้า </span></p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p><span style="font-weight: 400;">The purposes of this research were 1) to develop a chatbot system on lean thinking for customer service, and, 2) to study satisfaction towards using a chatbot system on lean thinking for customer service. The sample group consisted of 9 people who used the data and 40 customers who came to use the automatic response system by convenience sampling. The research instruments included a chatbot system and a questionnaire on satisfaction towards using a chatbot system on lean thinking. Statistics used for data analysis included arithmetic mean and standard deviation. </span></p> <p><span style="font-weight: 400;">The research results showed that 1) a chatbot system on lean thinking developed had 3 parts of information services: 1) crane design and installation part, 2) product ordering part, spare parts, and additional services, and 3) repair notification part. When evaluating the quality of a chatbot system on lean thinking for customer service, itould support the work with a good level of efficiency (</span><span style="font-weight: 400;">x</span><span style="font-weight: 400;"> = 4.31, S.D. = 0.87), and 2) the customer's users of a chatbot system on lean thinking through the company's LINE application satisfaction achievement was at a high level. (</span><span style="font-weight: 400;">x</span><span style="font-weight: 400;"> = 4.42, S.D. = 0.58)</span></p> Rungaroon Porncharoen Copyright (c) 2023 วารสารวิจัยและนวัตกรรม สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/ivebjournal/article/view/268166 Tue, 26 Dec 2023 00:00:00 +0700 การพัฒนาชุดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะการคิดเชิงนวัตกรรม เชิงพาณิชย์สู่ประเทศไทย 4.0 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/ivebjournal/article/view/265210 <p><span style="font-weight: 400;">งานวิจัยนี้วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาประเมินประสิทธิภาพและศึกษาความพึงพอใจชุดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมเชิงพาณิชย์สู่ประเทศไทย 4.0 โดยใช้การวิจัยแบบผสมแบ่งการวิจัยออกเป็น 2 ระยะคือ ระยะที่ 1 เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพจากการถอดบทเรียนความสำเร็จของผู้ประกอบการนวัตกรรมที่มีผลงานสู่เชิงพาณิชย์ จำนวน 20 คน และผู้เชี่ยวชาญจำนวน 5 คน เพื่อพัฒนาเป็นชุดกิจกรรม ระยะที่ 2 เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ เพื่อประเมินประสิทธิภาพชุดกิจกรรมฯ ที่พัฒนาขึ้น โดยมีกลุ่มตัวอย่างมี 2 กลุ่ม คือ กลุ่มผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 คนและศึกษาความพึงพอใจกับกลุ่มนักศึกษาสาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ จำนวน 33 คน ใช้การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม (Cluster Sampling) เครื่องมือที่ใช้คือ 1.ชุดกิจกรรมฯ จำนวน 9 ชุด 2.แบบสัมภาษณ์เชิงลึก 3.แบบสังเกตพฤติกรรมระหว่างดำเนินกิจกรรม 4.แบบประเมินผลชิ้นงาน 5.แบบสะท้อนคิด สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การหาประสิทธิภาพ E1/E2 และการวิเคราะห์เนื้อหา</span></p> <p><span style="font-weight: 400;">ผลการวิจัย 1. ชุดกิจกรรมฯ ที่พัฒนาขึ้นมีรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรูปแบบเชิงประสบการณ์มี 4 ขั้นตอน 9 ชุดกิจกรรม ประกอบด้วย ขั้นตอนที่ 1: ต้นน้ำ (คิด) ขั้นตอนที่ 2-3: กลางน้ำ (ผลิต/ทดสอบ) ขั้นตอนที่ 4: ปลายน้ำ (ขาย) ชุดกิจกรรมมี 8 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) ชื่อกิจกรรม 2) ระยะเวลา (นาที) 3) วัตถุประสงค์ 4) วัสดุอุปกรณ์ สื่อการเรียนรู้ 5) กรอบแนวคิด 6) ขั้นตอนกิจกรรม 7) สรุปกิจกรรม 8) การวัดประเมินผล โดยมีรายละเอียดในแต่ละชุดกิจกรรมประกอบด้วย ขั้นตอนที่ 1: ต้นน้ำ (คิด) ประกอบด้วยชุดกิจกรรมที่ 1. Mindset (บินให้ไกลไปให้ถึง) ชุดกิจกรรมที่ 2.-3 กิจกรรมการฟังและการถาม ชุดกิจกรรมที่ 4. กิจกรรมการระดมสมอง ชุดกิจกรรมที่ 5. กิจกรรมการคัดเลือกไอเดีย ขั้นตอนที่ 2-3: กลางน้ำ (ผลิต/ทดสอบ) ประกอบด้วยชุดกิจกรรมที่ 6. กิจกรรมสร้าง Prototype ชุดกิจกรรมที่ 7. กิจกรรมการทดสอบ (Test) ขั้นตอนที่ 4: ปลายน้ำ (ขาย) ประกอบด้วยชุดกิจกรรมที่ 8. กิจกรรมการหาจุดคุ้มทุน และชุดกิจกรรมที่ 9. กิจกรรมการขาย 2. ประสิทธิภาพชุดกิจกรรมตามความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ มีความเหมาะสมระดับมาก </span><span style="font-weight: 400;">= 4.49 , SD = 0.26 และประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมฯ มีค่าเท่ากับ 81.78/81.11 และผลประเมินความพึงพอใจที่มีต่อชุดกิจกรรมฯ อยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด</span><span style="font-weight: 400;"> = 4.57 , S.D. = 0.21</span></p> ปิติภาคย์ ปิ่นรอด Copyright (c) 2023 วารสารวิจัยและนวัตกรรม สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/ivebjournal/article/view/265210 Tue, 26 Dec 2023 00:00:00 +0700 หุ่นยนต์ หุ่นยนต์ผู้ช่วยบุคลากรทางการแพทย์ในศูนย์ผู้ป่วยโควิด https://so06.tci-thaijo.org/index.php/ivebjournal/article/view/264319 <p><span style="font-weight: 400;">การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อสร้างหุ่นยนต์ผู้ช่วยบุคลากรทางการแพทย์ในศูนย์ผู้ป่วยโควิด 19 2) เพื่อประสิทธิภาพของหุ่นยนต์ผู้ช่วยบุคลากรทางการแพทย์ในศูนย์ผู้ป่วยโควิด 19 และ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ใช้งานหุ่นยนต์ผู้ช่วยบุคลากรทางการแพทย์ในศูนย์ผู้ป่วยโควิด 19 กลุ่มเป้าหมายในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ บุคลากรทางการแพทย์ โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา อำเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบประเมินประสิทธิภาพการทำงานของหุ่นยนต์ผู้ช่วยบุคลากรทางการแพทย์ในศูนย์ผู้ป่วยโควิด 19 และ แบบสอบถามความพึงพอใจของบุคลากรทางการแพทย์ โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา ที่มีต่อการใช้งานหุ่นยนต์ผู้ช่วยบุคลากรทางการแพทย์ในศูนย์ผู้ป่วยโควิด 19 สถิติที่ใช้ในงานวิจัย การหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตร ผลการวิจัยมีดังนี้ หุ่นยนต์ผู้ช่วยบุคลากรทางการแพทย์ในศูนย์ผู้ป่วยโควิด 19 มีประสิทธิภาพ คือ 1) ด้านการเคลื่อนที่ด้วยการใช้งานผ่านรีโมทไร้สายมีค่าเฉลี่ยของการตอบสนอง คือ 0.71 2) ด้านการใช้งานผ่านกล้องไอพีแคมบนแท็บเล็ต ระดับความคมชัดที่ดีที่สุดในระดับ 480P หน่วงเวลา 0.5 วินาที การสนทนาสัญญาณภาพ หน่วงเวลา 0.5 วินาที 3) การจำลองห้องผู้ป่วยรวมขนาด 10 x 10 เมตร จำนวนเตียงผู้ป่วย 5 เตียง เวลาที่ใช้ในการปฏิบัติภารกิจ เฉลี่ย 3.09 นาที และผู้ใช้งานหุ่นยนต์มีความพึงพอใจต่อการใช้งานหุ่นยนต์ผู้ช่วยบุคลากรทางการแพทย์ในศูนย์ผู้ป่วยโควิด 19 อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.70</span></p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p><span style="font-weight: 400;">The objectives of this research were as follows: 1) to build a medical service robot in a COVID-19 patient center; 2) to find out the efficiency of medical service robots in COVID-19 patient centers 3) to study the satisfaction of users of a medical service robot in a COVID-19 patient center. The target group included 5 medical personnel of Phranakornsriayutthaya Hospital, the Covid-19 Patient Center 19, Muang District, Phranakornsriayutthaya Province. The research instruments were the assessment form and questionnaire. The statistic used were mean and standard deviation (S.D.). The research results showed that the medical service robots were effective: 1) Movement with wireless remote control had an average response of 0.71, and 2) IP-cam operation. on the tablet, the best resolution in 480P, delayed 0.5 seconds, and, the video chat at 0.5 seconds. 3) Simulation of a total patient room, size 10 x 10 meters, number of patient beds, 5 beds, the time required to perform the mission average 3.09 Minutes and robot users were satisfied with the use of medical service robots in the COVID-19 patient center at the highest level. with an average of 4.70</span></p> ขจรพงษ์ พู่ภมรไกรภพ Copyright (c) 2023 วารสารวิจัยและนวัตกรรม สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/ivebjournal/article/view/264319 Tue, 26 Dec 2023 00:00:00 +0700 การพัฒนาแผนการเรียนการสอนแบบผสมผสานด้วยวิธี LE-MARROW ในรายวิชากลศาสตร์วิศวกรรม https://so06.tci-thaijo.org/index.php/ivebjournal/article/view/268715 <p><span style="font-weight: 400;">การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1สร้างแผนการเรียนการสอนแบบผสมผสาน 2)หาประสิทธิภาพของแผนการเรียนการสอนแบบผสมผสาน 3 )ศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อแผนการเรียนการสอนแบบผสมผสานด้วยวิธี LE-MARROW ในรายวิชากลศาสตร์วิศวกรรม กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยนี้ประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญในการประเมินความเหมาะสมของแผนการเรียนการสอนแบบผสมผสานจำนวน 5 คน และผู้เรียนใช้ในการหาประสิทธิภาพของแผนการสอนจำนวน 10 คน วิเคราะห์ข้อมูลจากการใช้สถิติพื้นฐาน สถิติที่ใช้ในการหาดัชนีความสอดคล้อง (IOC) และค่าประสิทธิภาพ E</span><span style="font-weight: 400;">1</span><span style="font-weight: 400;">/E</span><span style="font-weight: 400;">2</span></p> <p><span style="font-weight: 400;">ผลการวิจัยพบว่า 1) แผนการเรียนการสอนแบบผสมผสานด้วยวิธี LE-MARROW ในรายวิชากลศาสตร์วิศวกรรม ในภาพรวมมีความเหมาะสมในระดับมากที่สุด (</span><span style="font-weight: 400;">x</span> <span style="font-weight: 400;">= 4.84, S.D.=0.18) 2) แผนการเรียนการสอนแบบผสมผสานด้วยวิธี </span><span style="font-weight: 400;"><br /></span><span style="font-weight: 400;">LE-MARROW ในรายวิชากลศาสตร์วิศวกรรมมีประสิทธิภาพ E</span><span style="font-weight: 400;">1</span><span style="font-weight: 400;">/E</span><span style="font-weight: 400;">2 </span><span style="font-weight: 400;">= 84.78/ 82.67 เป็นไปตามเกณฑ์ประสิทธิภาพ 80/80 ที่กำหนดไว้ 3) ความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อแผนการเรียนการสอนแบบผสมผสานด้วยวิธี LE-MARROW ในรายวิชากลศาสตร์วิศวกรรมโดยรวมอยู่ในระดับความพึงพอใจมากที่สุด (</span><span style="font-weight: 400;">x</span> <span style="font-weight: 400;">= 4.74, S.D.=0.31)</span></p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p><span style="font-weight: 400;">The objectives of this research were 1) to develop a blended lesson plan, 2) to determine the effectiveness of a blended lesson plan, and 3) to study students' satisfaction with the LE-MARROW blended lesson plan in engineering mechanics. The target group used in this research consisted of 5 experts evaluating the appropriateness of the blended lesson plan and 10 students using it to find out efficiency of the lesson plan. The data were analyzed using basic statistics, statistics used to find the Index of Conformity (IOC) and the efficiency values E</span><span style="font-weight: 400;">1</span><span style="font-weight: 400;">/ E</span><span style="font-weight: 400;">2</span></p> <p><span style="font-weight: 400;">The results of the research showed that 1) the suitability of the LE-MARROW blended lesson plan in engineering mechanics as a whole was appropriated at the highest level (</span><span style="font-weight: 400;">x</span><span style="font-weight: 400;"> = 4.84, S.D. = 0.18), 2) the efficiency of the LE-MARROW blended lesson plan in engineering mechanics was E</span><span style="font-weight: 400;">1</span><span style="font-weight: 400;">/E</span><span style="font-weight: 400;">2</span><span style="font-weight: 400;"> = 84.78/82.67, meeting the criteria efficiency 80/80, and 3) the students' satisfaction with the LE-MARROW blended lesson plan in engineering mechanics courses overall was at the highest satisfaction level (</span><span style="font-weight: 400;">x</span><span style="font-weight: 400;"> = 4.74, S.D. = 0.31).</span></p> พิพัฒน์พงศ์ โต๊ะหมอ, Sayam Kamkhuntod, Sakda Katawaethwarag Copyright (c) 2023 วารสารวิจัยและนวัตกรรม สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/ivebjournal/article/view/268715 Tue, 26 Dec 2023 00:00:00 +0700 ความคิดเห็นของผู้ประกอบการต่อสมรรถนะการปฏิบัติงานสหกิจศึกษาในสถานประกอบการ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) ของนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร https://so06.tci-thaijo.org/index.php/ivebjournal/article/view/266162 <p><span style="font-weight: 400;">การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นของผู้ประกอบการต่อสมรรถนะการปฏิบัติงานสหกิจศึกษาในสถานประกอบการ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) ของนักศึกษาสาขาวิชาการจัดการ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร ประชากร คือ เจ้าของสถานประกอบการ หรือผู้รับมอบหมายให้ทำหน้าที่ควบคุมดูแลนักศึกษาสหกิจศึกษา สาขาวิชาการจัดการคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลเข้าปฏิบัติงานในภาคเรียนที่ 2/2565 ได้รับแบบสอบถามกลับคืนมา จำนวน 84 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละค่าเฉลี่ย และค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน</span></p> <p><span style="font-weight: 400;">ผลการวิจัย พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อยู่ในช่วงอายุ 21 - 40 ปี วุฒิการศึกษาระดับปริญญาตรี</span> <span style="font-weight: 400;">อายุงานต่ำกว่า 10 ปี และมีหน้าที่เป็นพี่เลี้ยงนักศึกษาสหกิจศึกษา ความคิดเห็นต่อสมรรถนะการปฏิบัติงานของนักศึกษาสหกิจศึกษาในสถานประกอบการ ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (</span><span style="font-weight: 400;"> = 4.41) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุดคือ ด้านคุณธรรม จริยธรรม (</span><span style="font-weight: 400;"> = 4.67) และด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ (</span><span style="font-weight: 400;"> = 4.66) ส่วนด้านที่มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก คือ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (</span><span style="font-weight: 400;"> = 4.29) รองลงมาคือ ด้านความรู้ (</span><span style="font-weight: 400;"> = 4.23) และด้านทักษะทางปัญญา (</span><span style="font-weight: 400;"> = 4.23) ตามลำดับ</span></p> <p><strong>คำสำคัญ :</strong><span style="font-weight: 400;"> สมรรถนะการปฏิบัติงาน สหกิจ</span><span style="font-weight: 400;">ศึกษา กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ</span></p> <p><strong>ABSTRACT</strong></p> <p><span style="font-weight: 400;">The purpose of this research was to study entrepreneurs' opinions on performance competencies of cooperative Education in the workplace according to Thai Qualifications Framework (TQF) for Higher Education of management students, Faculty of Business Administration, Rajamangala University of Technology Phra Nakhon. The population were 105 owners of the establishment or the persons assigned to supervise the cooperative education students, in management major, Faculty of Business Administration, Rajamangala University of Technology, who worked in semester 2/2022. Data collection is done through questionnaires and statistics, which are used to analyze the data, namely percentage, mean and standard deviation.</span></p> <p><span style="font-weight: 400;">The results of the research revealed that most of the respondents were female in the age range of 21 – 40 years old, having a bachelor’s degree and less than 10 years of work experience, as well as serving as mentors for cooperative education students. Concerning the opinions on performance Competencies of cooperative Education in the workplace according to Thai Qualifications Framework for Higher Education (TQF). Overall, it was at a high level </span><span style="font-weight: 400;"><br /></span><span style="font-weight: 400;">(</span><span style="font-weight: 400;"> = 4.41). When considering each side, it showed that the aspect with the highest level of opinion was morality and ethics (</span><span style="font-weight: 400;"> = 4.67) and inter-personal skills and responsibilities </span><span style="font-weight: 400;"><br /></span><span style="font-weight: 400;">(</span><span style="font-weight: 400;"> = 4.66). The aspects that have opinions at a high level were skills in numerical analysis, communication, and use of information technology (</span><span style="font-weight: 400;"> = 4.29) and followed by knowledge (</span><span style="font-weight: 400;"> = 4.23) and intellectual skills (</span><span style="font-weight: 400;"> = 4.23), respectively.</span></p> พีรญา เชตุพงษ์ Copyright (c) 2023 วารสารวิจัยและนวัตกรรม สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/ivebjournal/article/view/266162 Tue, 26 Dec 2023 00:00:00 +0700 ทัศนคติของนักท่องเที่ยวไทยเจนเนอเรชั่น Z ที่มีต่อการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม อย่างยั่งยืน ในพื้นที่เทศบาลเมืองเพชรบุรี จังหวัดเพชรบุรี https://so06.tci-thaijo.org/index.php/ivebjournal/article/view/264930 <p><span style="font-weight: 400;">The objective of this research was to study the attitudes of Thai Generation Z tourists towards sustainable cultural tourism in the municipal area of Phetchaburi, Phetchaburi Province. The sample group used in this study consisted of 400 Gen Z tourists who had previously traveled to the municipal area of Phetchaburi. Data was collected through questionnaires and analyzed using pre-designed software, employing statistics such as percentages, means, standard deviations, and hypothesis testing through T-tests and One-Way ANOVA.</span></p> <p><span style="font-weight: 400;">The study found that the attitude of Thai tourists towards sustainable cultural tourism in the municipal area of Phetchaburi, Phetchaburi Province, was the highest overall among Generation Z tourists. When considering opinions regarding the sustainable tourism concept in terms of cultural tourism in the municipal area of Phetchaburi, Phetchaburi Province, it was found to be the highest overall in terms of the environment, economy, and society/culture. The results of the hypothetical testing also revealed that the attitude of Thai tourists towards sustainable cultural tourism in the municipal area of Phetchaburi, Phetchaburi Province, was the highest overall. And the sample groups with different ages, occupations, socio-economic statuses, educational levels, and incomes had varied attitudes towards sustainable cultural tourism in the municipal area of Phetchaburi City, Phetchaburi Province, a statistically significant at the 0.05 level. However, the sample groups with different genders had no significant difference in their attitudes towards sustainable cultural tourism in the municipal area of Phetchaburi City, Phetchaburi Province.</span></p> เมทิกา พ่วงแสง Copyright (c) 2023 วารสารวิจัยและนวัตกรรม สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/ivebjournal/article/view/264930 Tue, 26 Dec 2023 00:00:00 +0700 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณลักษณะทางจริยธรรมของนักศึกษาสื่อสารมวลชน ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งประเทศไทย https://so06.tci-thaijo.org/index.php/ivebjournal/article/view/266229 <p><span style="font-weight: 400;">การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณลักษณะทางจริยธรรมนักศึกษาสื่อสารมวลชนตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้ทำงานด้านสื่อสารมวลชน จำนวน 800 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยด้านประสบการณ์ทางสังคม ด้านจิตรู้จริยธรรม ด้านทัศนคติ คุณธรรม และค่านิยม ด้านพฤติกรรมสุขภาพ ด้านจิตสร้างสรรค์ ด้านมุ่งอนาคตและควบคุมตนเอง ด้านจิตเชี่ยวชาญ ด้านจิตรู้สังเคราะห์ ด้านความเชื่ออำนาจในตน ด้านสติปัญญา ด้านแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ด้านพฤติกรรมการทำงาน ด้านพฤติกรรมการขยันเรียนรู้ ด้านจิตรู้เคารพ ด้านพฤติกรรมพัฒนาสังคม และด้านการอบรมเลี้ยงดูของครอบครัว มีอิทธิพลต่อคุณลักษณะทางจริยธรรมนักศึกษาสื่อสารมวลชนตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย อย่างนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01</span></p> <p><strong>Abstract</strong></p> <p><span style="font-weight: 400;">The objective of this research was to study the factors effect to ethical characteristics of mass communication students according to the Thai Qualifications Framework. This research was quantitative research by using questionnaire as a tool to collect data from 800 samples who were about of journalism. Data was analyzed by Stepwise Multiple Regression Analysis. The results showed as follows: the factors effected to ethical characteristics of mass communication students according to the Thai Qualifications Framework with a statistical significance at .01 including social experience, ethical mind, moral, attitude and values, health behavior, creative mind, focus on the future and self-control, disciplined mind, synthesizing mind, power of belief, intelligence, motivation achievement, working behavior, studious behavior, respectful mind, social development behavior, and nurture of family.</span></p> ฉันทนา ปาปัดถา Copyright (c) 2023 วารสารวิจัยและนวัตกรรม สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร https://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/4.0 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/ivebjournal/article/view/266229 Tue, 26 Dec 2023 00:00:00 +0700