TY - JOUR AU - เผ่ามานะเจริญ, ฉัตรเมือง AU - ยงศร, จตุพล AU - โปณะทอง, จักรกฤษณ์ PY - 2018/07/01 Y2 - 2024/03/29 TI - การวิเคราะห์องค์ประกอบการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ของนิสิตนักศึกษาสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐในเขตกรุงเทพมหานคร: (A Factor Analysis of Social Media Literacy of Undergraduates in Autonomous Higher Education Institutions in Bangkok) JF - วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม JA - J. Soc. Commun. Innov. VL - 6 IS - 2 SE - บทความ DO - UR - https://so06.tci-thaijo.org/index.php/jcosci/article/view/169363 SP - 8 - 21 AB - <p><strong>บทคัดย่อ</strong><br>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ของนิสิตนักศึกษา สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐในเขตกรุงเทพมหานคร โดยศึกษาจากกล่มุ ตัวอย่างนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาตรี ของสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐในเขตกรุงเทพมหานครได้แก่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล และ&nbsp;มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ชั้นปีที่ 1-4 ปีการศึกษา&nbsp;2560 จำนวน 449 คน โดยใช้วิธีการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามแบบมาตรส่วนส่ประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 60 ข้อ ผลการวิจัยพบว่าองค์ประกอบของการรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ของนิสิตนักศึกษา สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐในเขตกรุงเทพมหานคร เมื่อทดสอบค่า Kaiser-Meyer-Olkin:&nbsp;KMO ซึ่งเท่ากับ .924 แสดงให้เห็นว่าข้อมูลเหมาะสมต่อการวิเคราะห์องค์ประกอบในระดับดีมาก ค่า Bartlett’s test&nbsp;of Sphericity มีการแจกแจงโดยประมาณแบบ Chi-Square&nbsp;เท่ากับ 10007.302 และค่า Significant เท่ากับ .000&nbsp;ทำการหมุนแกนองค์ประกอบด้วยวิธีแวริแมกซ์ (Varimax&nbsp;Rotation) สามารถทำการวิเคราะห์องค์ประกอบได้ 9&nbsp;องค์ประกอบ ได้แก่ 1) การตระหนักถึงผลกระทบในการใช้สื่อสังคมออนไลน์ 2) การตรวจสอบความถูกต้องของสื่อสังคมออนไลน์ 3) การแยกแยะข้อมูลในสื่อสังคมออนไลน์&nbsp;4) การวิเคราะห์เทคนิคการสื่อสารของสื่อสังคมออนไลน์&nbsp;5) การรวบรวมข้อมูลเพื่อสร้างผลงานในสื่อสังคมออนไลน์&nbsp;6) การรู้ความหมายที่ใช้ในสื่อสังคมออนไลน์ 7) การประเมินคุณค่าทีไ่ ด้รับจากสื่อสังคมออนไลน์ 8) การคัดเลือกข้อมูลจากสื่อสังคมออนไลน์ และ 9) การสร้างสรรค์ผลงานผ่านสื่อสังคมออนไลน์</p><p><strong>คำสำคัญ :</strong> วิเคราะห์องค์ประกอบ / การรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์</p><p><strong>Abstract</strong></p><p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; The purpose of this research was to study&nbsp;the social media literacy of undergraduates in&nbsp;autonomous higher education institutions in Bangkok:&nbsp;Chulalongkorn university, Mahidol university and&nbsp;Srinakharinwirot university. The samples were 449&nbsp;students who are currently studying in year 1-4.&nbsp;The statistics used was exploratory factor analysis.&nbsp;The research instrument was a questionnaire with&nbsp;60 question items using Likert scale (5 Likert Type&nbsp;scale). The research found that the factors of social&nbsp;media literacy of undergraduates in autonomous&nbsp;higher education institutions in Bangkok, the Kaiser-Meyer-Olkin: KMO was .924 which indicated that&nbsp;the items were appropriate in a very good level.&nbsp;In addition, Bartlett’s test of Sphericity, estimated&nbsp;with Chi-Square redistribution, was 10007.302, and&nbsp;the significant value was equal .000. The rotation&nbsp;elements with Varimax method can be categorized&nbsp;into 9 factors consisted of 1) awareness the effects of social media&nbsp;2) verify accuracy of social media&nbsp; 3) differentiate information available in social media&nbsp;4) analyze social media communication techniques&nbsp;5) contribute to social media through information&nbsp;gathering 6) know the meaning of symbols used in&nbsp;social media 7) appraise social media’s values 8)&nbsp;select information on social media, and 9) use social&nbsp;media as domain for creative works.</p><p><strong>Keyword :</strong> factor analysis / social media literacy</p> ER -