TY - JOUR AU - ฤทธิบูลย์, ประวิทย์ PY - 2018/07/01 Y2 - 2024/03/29 TI - โขนวิทยา: ศาสตร์ ศิลป์ ถิ่นสยาม: (Khoncology : Arts of Siam) JF - วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม JA - J. Soc. Commun. Innov. VL - 6 IS - 2 SE - บทความ DO - UR - https://so06.tci-thaijo.org/index.php/jcosci/article/view/169435 SP - 123-141 AB - <p><strong>บทคัดย่อ</strong></p><p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; เนื้อหาในบทความฉบับนี้ผู้เขียนต้องการนำเสนอให้เห็นถึงองค์ความรู้ทางด้านโขน ที่เป็นมรดกอันทรงคุณค่าและเป็นนาฏกรรมชั้นสูงที่มีเอกลักษณ์ที่โดดเด่น มีระเบียบแบบแผน เป็นศิลปะและมหรสพประจำชาติที่มีมาแต่โบราณ ด้วยเหตุว่าโขนเป็นการแสดงที่รวมศาสตร์ และศิลป์อันเป็นเอกลักษณ์ของไทยไว้ในการแสดงมากที่สุด การแสดงโขน&nbsp;&nbsp; จึงมีขั้นตอนในการแสดงที่ละเอียด และประณีต ตั้งแต่ผู้แสดง การแต่งกาย บทโขน บทร้อง ทำนองเพลง บทพากย์และเจรจา ตลอดจนเพลงที่ใช้บรรเลงประกอบ จึงมีความจำเป็นที่ผู้ที่จะเรียนศิลปะการแสดงทางด้านโขน หรือผู้ที่สนใจในการศึกษา และต้องสร้างความรู้ ความเข้าใจพื้นฐานก่อนการรับชมการแสดงในโอกาสต่างๆ โดยผู้เขียนได้สังเคราะห์องค์ความรู้มาจากหนังสือ ตำรา เอกสารทางวิชาการ และงานวิจัยพบว่า โขนมีการสืบทอดและพัฒนาการสืบเนื่องมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาจนถึงกรุงรัตนโกสินทร์ โดยได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากสถาบันพระมหากษัตริย์ทรงอุปถัมภ์มาอย่างต่อเนื่องทุกยุคทุกรัชสมัย เป็นเครื่องราชูปโภคที่แสดงถึงความเป็นอารยะและศิลปวัฒนธรรมประจำชาติ โดยมีการสืบทอดรูปแบบการแสดงจากอดีตที่เป็นแบบแผนทั้งในการฝึกหัดและวิธีการแสดงโขน โดยใช้ระบบเข้าขุนมูลนายเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้อง จึงทำให้เกิดมีโขนหลวง โขนเจ้าขุนมูลนาย โขนของเอกชน ต่อมาได้มีระบบหน่วยงานรับผิดชอบเรื่องโขนมาจนถึงปัจจุบัน คือ กรมศิลปากร อีกทั้งยังได้มีการใช้ระบบการศึกษาเข้ามามีส่วนในการสืบทอด ตั้งแต่ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานจนถึงระดับอุดมศึกษา จนกระทั้งการมีส่วนร่วมของชุมชนในการอนุรักษ์สืบสานศิลปะของการแสดงโขน</p><p><strong>คำสำคัญ</strong><strong>: </strong>โขนวิทยา<strong> / </strong>ศาสตร์ ศิลป์ ถิ่นสยาม&nbsp;&nbsp;</p><p><strong>Abstract</strong></p><p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; The content in this article was presented the knowledge of Khon which was the valuable heritage as the outstanding identity of Thai Dance Arts methodologically. It was the national arts and performance which were commenced at former times. Khon was the only performance that included most Thai Arts and knowledge together, so, it was called that Khon had the meticulous procedures of the actors, costumes, scenario, lyrics, rhythms, dialogues as well as theme song. It was very important for the student who had been learning Khon or people who were interesting to study about Khon to learn and understand basic knowledge before being the audience in Khon performance. The writer had collected and summarized knowledge from books, textbooks, academic papers, researches.&nbsp;</p><p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; It is found that Khon has been preserved, inherited, and developed continually from the Ayutthaya to the Rattanakosin periods under the patronage of a monarch. It is an instrument of civilization and national culture. It is inherited from the past, the pattern in both the practice and the way of expression Khon was one of the royal performance arts later it had been extended to the commoners. Up until now, the authority being in charge of this performing art has been the Fine Arts Department, Ministry of Culture. It also has an educational system to take part in the succession. From basic to advance levels. The participation of the community in preserving the art of Khon performance.</p><p><strong>&nbsp;</strong><strong>Keyword: </strong>Khoncology / Arts of Siam</p> ER -