ศึกษาพฤติกรรมของผู้ปฏิบัติธรรมตามแนวสติปัฏฐาน 4
คำสำคัญ:
ศึกษาพฤติกรรม, ผู้ปฏิบัติธรรม, ตามแนวสติปัฏฐาน 4บทคัดย่อ
วิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาแนวคิดทฤษฏีพฤติกรรมที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติธรรมตามแนวสติปัฏฐาน 4 ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ปฏิบัติธรรมตามแนวสติปัฏฐาน 4 และเพื่อนำเสนอโมเดลเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ปฏิบัติธรรมวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน 4 ผลการวิจัย พบว่า 1. อิทธิพลของปัจจัยส่วนบุคคล กับพฤติกรรมมีอิทธิพลของปัจจัยส่วนบุคคลได้แก่สถานะภาพของผู้ปฎิบัติธรรม และ ระดับการศึกษา มีผลต่อพฤติกรรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ p-value < 0.05 ส่วน ช่วงอายุ และประประสบการณ์ปฏิบัติธรรม ไม่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมต่อสถานะภาพ และช่วงอายุ 41 - 50 ปี 2. การวิเคราะห์อิทธิพลของปัจจัยด้านจิตลักษณะเดิม ได้แก่ การเห็นคุณค่าในตน ความมั่นคงทางอารมณ์ การรับรู้ความสามารถตน และ การรับรู้สภาวะการปฏิบัติ มีผลต่อพฤติกรรมอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ p-value < 0.05 3. การวิเคราะห์ Multiple Logistic Regression เพื่อตรวจสอบว่าค่าสัมประสิทธิ์ของตัวแปรอิสระมีผลต่อตัวแปรตามพฤติกรรมและกระบวนการรู้คิด
References
2.นำชัย ศุภฤกษ์ชัยสกุล. (2552). การวิเคราะห์ Logistic Regression. กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
3.พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต). (2557). พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย. พิมพ์ครั้งที่ 40. กรุงเทพฯ : มูลนิธิธรรมทานกุศลจิต.
4.ภัทรนิธิ วิสุทธิศักดิ์. (2555). “รูปแบบผสมผสานการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามหลักสติปัฏฐาน,”.วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต, สาขาพุทธศาสนา. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
5.มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539.) พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
6.อัษฏางค์ สุวรรณมิสสวะ. (2551). “วิจัยเรื่อง ศึกษาไตรลักษณ์ในการปฏิบัติวิปัสสนาตามหลักสติปัฏฐาน 4 เฉพาะกรณี การปฏิบัติวิปัสสนาภาวนา 7 เดือน”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
7.Bandura, A. (1986). Fearful expectations and avoidant actions as confects of perceived self-inefficacy. American Psychologist.
8.Bandura Albert. (1986). Social foundations of thought and action: A social cognitive theory. New Jersey: Englewood cliffs, Prentice-hall.
9.Bandura, A. (1977). Self- efficacy: Toward a unifying theory of behavioral change. Psychological Re- view.
10.Chandradhar Sharma. (1964). A Critical survey of Indian philosophy. varanasi : motilal Banarsidass.
11.Cornbrash. Lee. J (1963). Educational Psychology. New York: Harcourt, Brace and World.
12.Coppersmith, S. (1981). The Antecedents of Self-esteem. California: Consultation Psychologists Press, Inc.
13.Doungkamon Tongkanaraksa. (2553). “Suitable Buddhist Meditation Retreats for Foreigners in Thailand”. Master of Art Buddhist Studies, Graduate School: chulalongkornrajavidyalaya University.
14.Phra Mahasi Sayadaw. (2016). Advices in Fundamental Insight Meditation. Bangkok: Canna Graphic Printing.
15.Piaget, J. And Inhaled, B. (1964). The Growth of Logic: from Childhood to Adolescence. New York: Basic Hall.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว