หลักธรรมกับการพัฒนาชุมชนเข้มแข็ง
คำสำคัญ:
หลักธรรม, การพัฒนา, ชุมชนเข้มแข็งบทคัดย่อ
หลักธรรม คือ จักร 4, ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ 4, อิทธิบาท 4, และพละ 5, เป็นหลักธรรมที่นำไปสู่การพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็ง เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ตามนโยบายที่ได้วางไว้โดยการกำหนดเป้าหมายของสังคมว่าจะเน้นอะไร และสุดท้ายสร้างความเข้มแข็งให้เกิดขึ้นภายในสังคมชุมชนประเทศชาติที่ยั่งยืน เพื่อพัฒนาสังคมหรือช่วยสงเคราะห์คนในชุมชน คือหลักสังคหวัตถุ 4 เป็นทิศทางการพัฒนาอยู่บนพื้นฐานการพึ่งตนเองโดยอาศัยกระบวนการจัดการชุมชนในการพัฒนาด้านต่าง ๆ โดยมีวิธีคิดจากระบบภูมิปัญญาพื้นบ้านผสมผสานเข้ากับระบบการจัดการของสังคม
References
ชาติชาย ณ เชียงใหม่. (2533). “การเปลี่ยนแปลงทางสังคมกับพฤติกรรมทางการเมืองของชาวนาภาคเหนือ”, ใน อนัญญา ภุชงคกุล (บรรณาธิการ), รัฐกับหมู่บ้านในไทยศึกษา, กรุงเทพมหานคร: สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ไชยรัตน์ เจริญสินโอฬาร. (2542). วาทกรรมการพัฒนา : อำนาจ ความรู้ ความจริงเอกลักษณ์ และความเป็นอื่น. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์วิภาษา.
ธีระพงษ์ แก้วหาวงษ์. (2543). กระบวนการเสริมสร้างชุมชนเข้มแข็งประชาคม ประชาสังคม. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์โรงพิมพ์คลังนานาวิทยา.
บรรพต วีรสัย และคณะ. (2532). “พระสงฆ์กับสังคมไทยโดยพิจารณาในเชิงสังคมเศรษฐกิจ การเมืองและการปกครอง: กรณีศึกษาวัดในกรุงเทพมหานครและฉะเชิงเทรา”. รายงานการวิจัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2528). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2543). พุทธธรรมฉบับปรับปรุงและขยายความ. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พุทธทาสภิกขุ. (2540). แนวสังเขปของโบราณคดีรอบอ่าวบ้านดอน, พิมพ์ครั้งที่ 3, กรุงเทพมหานคร: เพาเวอร์พริ้นท์.
สัญญา สัญญาวิวัฒน์. (2541). การพัฒนาชุมชนแบบจัดการ. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อุทัย ดุลยเกษม และคณะ. (2540). ระบบการศึกษากับชุมชน : กรอบความคิดและข้อเสนอเพื่อการวิจัย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ แพลน พริ้นติ้ง.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว