Solution of Over Nutrition among Primary School Students in Private School of U-Thong District, Suphanburi Province

Authors

  • ชวน ภารังกูล มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง
  • ธีระพร อายุวัฒน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง
  • สุดจิต หมั่นตะคุ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง
  • พณกฤษ บุญพบ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง
  • ประพจน์ แย้มทิม มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง
  • สุริยะ รูปหมอก มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง

Keywords:

Over nutrition, Primary School Students, Private School

Abstract

This research aimed was to solve the problem of over nutritional of primary school students in private schools. with parent and teacher participation in municipal area of Uthong district ,Suphanburi Province. The research was conducted from July 2020 to December 2020l 2017. The purposive sampling was applied. The samples included 24 primary school students in the 5th and 6thgrade with over nutrition, 8 parents of those students and 8 teachers. Data were collected by in-depth interviews form and non-participant observation. The instruments included the record form of semi-structured interview, past 24-hour food and activity interview, daily food list and exercise in the past 3 days and observation. Quantitative data were analyzed and presented as percentages. Content analysis was used for qualitative data.

The results showed that 100 % of students had lost weight. 80 percent of the students had a positive tendency in nutrition status. Furthermore, students improved their consumption behavior and did more exercise. This improvement resulted from the students, parents and teachers had perceived the current situation together and then all participated in analyzing the situation, planning and learning. The students were aware of their over nutrition problems which must be solved systematically by themselves and the support from their parents and teachers. They cooperated to create the plan, act on the plan and evaluate the process outcome. With the suitable environment for behavior change, they adjusted the plan as appropriate by themselves without compulsion. These were the key factors of the success.

References

กันทิกา หลวงทิพย์ และดาริณี สีนวล. (2550). “การศึกษาพฤติกรรมการออกกำลังกายของบุคลากร ในโรงพยาบาลสามชุก อำเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี”. โปรแกรมวิชาสาธารณะสุข ชุมชน คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.

กาญจนา วัฒายุ. (2558). การวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา. กรุงเทพฯ : ธนพรการพิมพ์.

กรมอนามัย. (2543). คู่มือแนวทางการใช้เกณฑ์อ้างอิงน้ำหนัก ส่วนสูง เพื่อประเมินภาวะการเจริญเติบโตของเด็กไทย. กรุงเทพฯ: องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.

เบญจา ยอดดำเนิน-แอ็ตติก. (2552). การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ : การจัดการข้อมูล การตีความและการหาความหมาย. นครปฐม : สำนักพิมพ์ประชากรและสังคม สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.

นภาเพ็ญ จันทขัมมา. (2560). ตามรอยพระราชดาริ โครงการเด็กไทยแก้มใส เพื่อภาวะโภชนาการที่ดีของเด็กไทย. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ปฏิมาภรณ์ ภูมิกอง. (2561). การแก้ไขภาวะโภชนาการเกินในเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษา ในเขตเทศบาลอำเภอเปือยน้อย จังหวัดขอนแก่น. วารสารโรงพยาบาลสกลนคร. 21(2) : 155.

เพ็ญแข ประทุมชาติ. (2549). การส่งเสริมโภชนาการในนักเรียนวัยรุ่นโดยการมีส่วนร่วมของครูและนักเรียนในโรงเรียนพังทุยพัฒนศึกษา อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น. วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ลัดดา เหมาะสุวรรณ และคณะ. (2552). รายงานสร้างสุขภาพประชาชนไทย (สุขภาพเด็ก) โดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 4 พ.ศ. 2551- 2552. สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.

ลักษณาวลัย มหาโชติ . (2557). ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการควบคุมน้ำหนักของสมาชิกชมรมแอโรบิค อำเภอเมืองจังหวัดนครปฐม. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนศึกษา ภาควิชาพื้นฐานทางการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สันธนา เสียงอ่อน. (2554). การพัฒนาการแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการเกินของนักเรียนชั้นประถมศึกษาเขตเทศบาลนครอุดรธานี. รายงานการศึกษาอิสระปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชน คณะพยาบาลศาสตร์.

สิริไพศาล ยิ้มประเสริฐ. (2560). พฤติกรรมการบริโภคอาหารของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา. วารสารราชพฤกษ์. (15)1: 33-41.

ศิริกุล อิศรานุรักษ์ และปราณี สุทธิสุคนธ์. (2550). การอบรมเลี้ยงดูเด็ก. วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา สถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล. 5 : 105-107.

สุธี สฤษฎิ์ศิริ. (2555). ภาวะโภชนาการของนักเรียนในโรงเรียน เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร. วารสารสาธารณสุขศาสตร์. 42(1) : 79.

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2560). สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพกับโครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก. กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์ เอส พี เอส พริ้นติ้ง.

อดิษา สังขะทิพย์. (2560). พฤติกรรมการบริโภคอาหารและภาวะโภชนาการของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนในตำบลกุดปลาดุก อำเภอ ชื่นชมจังหวัดมหาสารคาม. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 19(1) : 179.

Downloads

Published

2023-06-19

Issue

Section

Research Articles