บทบาท ลักษณะ และองค์ประกอบของประชาคม เทศบาลเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี
Keywords:
บทบาท, ลักษณะ, องค์ประกอบของประชาคม และเทศบาลเมืองปทุมธานีAbstract
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาท ลักษณะ และองค์ประกอบของประชาคม เทศบาลเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี ซึ่งเป็นผู้เสริมสร้างจิตสำนึก ความสามัคคี เป็นผู้นำในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ในชุมชน เป็นสื่อกลางในการรับฟังรวบรวมความคิดเห็นและปัญหาของชุมชน มีบทบาทประสานโครงการกิจกรรมต่าง ๆ ระหว่างกลุ่มทั้งหลายในชุมชน มีองค์ประกอบของประชาคมเทศบาลเมืองปทุมธานีจังหวัดนนทบุรี ประกอบด้วยประธานกรรมการชุมชน 1 คน และกรรมการชุมชนไม่เกิน 8 คน เพื่อเป็นตัวแทนในการประสานความร่วมมือแจ้งปัญหาให้กับทางเทศบาล การเสริมสร้างความเข้มแข็ง การประชาสัมพันธ์ เสียงตามสาย โดยเทศบาลได้จัดฝึกอบรมให้ความรู้และร่วมกิจกรรมต่าง ๆ เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน ลักษณะในภาพรวม ได้แก่ เป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ คือชุมชนมีการเรียนรู้และรู้เท่าทันข่าวสาร และมีการเพิ่มพูนความรู้ในด้านต่าง ๆ อย่างสม่ำเสมอ เป็นชุมชนที่มีการจัดการตนเอง ด้วยระบบการบริหารจัดการในกิจกรรมที่สำคัญคือการวางแผน การจัดกระบวนการองค์กรภายในของชุมชน การลงมือปฏิบัติตามแผนงาน และมีการประเมินผล เป็นชุมชนที่มีความรัก ความหวงแหน ความรู้สึกเป็นเจ้าของในชุมชน เป็นชุมชนที่มีความสงบสุขและคนในชุมชนในมีคุณภาพและคุณธรรม
References
โกวิทย์ พวงงาม. (2547). สารานุกรมการปกครองท้องถิ่นไทย หมวดที่ 3 พัฒนาการและรูปแบบการปกครองท้องถิ่นไทย ลำดับที่ 4 องค์การบริหารส่วนตำบล. กรุงเทพฯ: ธรรมดาเพรส.
พิเชฐ ทั่งโต. (2557). “ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัย : กับบทบาทการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม”. วารสาร มจร.สังคมศาสตร์ปริทรรศน์. 3(3), 51-66.
เทศบาลเมืองปทุธานี. (2560). กำหนดส่วนราชราชการและอำนาจหน้าที่ของเทศบาล. วันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2560.
สำนักงานจังหวัดปทุมธานี. (2557). แผนพัฒนาจังหวัดปทุมธานี. ปทุมธานี; สำนักงานจังหวัดปทุมธานี.
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2550). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 - 2554). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา.
สำนักบริหารการปกครองท้องที่ กรมการปกครอง. (2541). ประชาคมอำเภอ แนวคิดและแนวปฏิบัติ.กรุงเทพฯ: ส่วนท้องถิ่น กรมการปกครอง.
เสถียร เหลืองอร่าม. (2549). การพัฒนาชุมชน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
Department of local government. (2006). Laws relating to the administration of localpublic administration units. Bangkok: local printing.
Muangchai, W. (2009). Factors Affecting Community Residents' Participation in Their Local Development in Fang District, Chiangmai Province. M.A. thesis Rajabhat Chaingrai University.
PhongsathienLeuang-alongkot. (2011). The administration based on good governance at theSai-Khow Municipality, Soidow district, Chanthaburi Province.
Downloads
Published
Issue
Section
License
Copyright (c) 2022 Mahamakut Buddhist University
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว