Model of Participatory Political Culture That Strengthening Democracy in Rajaburi Province
รูปแบบวัฒนธรรมทางการเมืองแบบมีส่วนร่วมที่ส่งเสริมความเข้มแข็งตามระบอบประชาธิปไตยในจังหวัดราชบุรี
Keywords:
วัฒนธรรมทางการเมือง, แบบมีส่วนร่วม, ส่งเสริมความเข้มแข็ง, ระบอบประชาธิปไตยAbstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาวัฒนธรรมทางการเมืองของประชาชน 2) เพื่อศึกษาวัฒนธรรมทางการเมืองแบบมีส่วนร่วมที่ส่งเสริมความเข้มแข็งตามระบอบประชาธิปไตย และ 3) เพื่อนำเสนอรูปแบบวัฒนธรรมทางการเมืองแบบมีส่วนร่วมที่ส่งเสริมความเข้มแข็งตามระบอบประชาธิปไตยในจังหวัดราชบุรี โดยประยุกต์หลักสาราณียธรรม เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก จากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ทั้งหมด 26 รูปหรือคน และการสนทนากลุ่มเฉพาะกับผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 รูป/คน วิเคราะห์เนื้อหา สรุปผล และอธิบายเชื่อโยงความสัมพันธ์วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการพรรณนาความ
ผลการวิจัย 1) วัฒนธรรมที่ชี้เป้า 1) วัฒนธรรมที่มุ่งหวัง มีจุดแข็ง ... 1) ฉลาดเลือกที่จะพยายามเลือกเป้าหมายที่สอดคล้องกับนโยบายของเรา พยายามเลือกให้สอดคล้องกับนโยบายที่มุ่งหวังที่จะปฏิบัติตามนโยบาย ... ท้าทายความสามารถในการเข้าถึง โอกาสที่มีโอกาสจะจัด อบรมให้ความรู้แก่ประชาชน สั่...ง ให้สำรวจ แอ้ม ผู้นำต้องการอำนาจและเงิย...
2) วัฒนธรรมที่เหมาะจะสำรวจภายในแบบที่เน้นความพิเศษตามความคาดหมาย มี 6 ประเด็นคือ ด้านที่มีประเ... ติ๊ว่าควรค่าสัมประสิทธิ์ภาวิสัย อภิสิทธิ์ อภิสิทธิ์ อภิสิทธิ์ โพธิ์ โพลารอยด์ โพลารอยด์ และเคราติ... สังคมและส่วนรวม
3) กล้าที่จะกล้าที่จะเป็นพวกปัญญาประดิษฐ์ (1) พัฒนาปรมาจารย์(2) พูดคำสัตติ์ (3) ตั้งตะเข้ดี (4) เขีย... 5) มีกฎเกณฑ์ในข้อกฎหมาย (6) แนวทางแก้ไขตามระเบียบ
นโยบายส่งเสริม, แบบติ, ส่งเสริม, ประเ...
References
คนึงนิตย์ พรหมมินทร์. (2557). “การเสริมสร้างความเข้มแข็งในการมีส่วนร่วมทางการเมืองท้องถิ่นของสตรีไทยล้านนาตะวันออก”. วารสารสังคมศาสตร์วิชาการ. ปีที่ 8 (1) : 137-145.
ชาญชัย ฮวดศรี. (2558.) “รูปแบบการส่งเสริมวัฒนธรรมทางการเมืองเชิงพุทธของผู้นำชุมชนจังหวัดขอนแก่น”. รายงานการวิจัย. (ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ธัญธัช วิภัติภูมิประเทศ. (2556). “ความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตยของนักศึกษามหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์”. รายงานการวิจัย. (ศูนย์วิจัย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์).
ปฏิมาภรณ์ อรรคนันท์, สัญญาเคณาภูมิ ภักดีโพธิ์สิงห์. (2560). “วัฒนธรรมทางการเมืองกับการพัฒนาประชาธิปไตย” .วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี. ปีที่ 8 (2) : 108-130.
พระครูธรรมธรศิริวัฒน์ (สิริวฑฺฒโน),พระสุภาพร เตชะธะโร. (2560). “กระบวนการสร้างสาธารณโภคีธรรม ขององค์กรพุทธศาสนาในประเทศไทย”. วารสารมหาจุฬาวิชาการ. ปีที่ 4 (1) : 76-87.
พระศิลาศักดิ์ สุเมโธ (บุญทอง). (2562). “ความสัมพันธ์ระหว่างการกล่อมเกลาทางการเมืองกับวัฒนธรรมทางการเมือง”. วารสารปัญญาปณิธาน. ปีที่ 4 (1) : 33-49.
เพิ่มศักดิ์ วรรณยิ่ง, ณัฐวีณ์ บุนนาค, จตุพร บานชื่น. (2559). “การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในเขตอำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม”. วารสารสหวิทยาการวิจัย: ฉบับบัณฑิตศึกษา. ปีที่ 5 (1) : 150-160.
โยธิน ชัยธิสาร. “ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสาราณียธรรมกับการปฏิบัติงานของบุคลากร สังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอซำสูง จังหวัดขอนแก่น”.วารสารสถาบันวิจัยพิมลธรรม, ปีที่ 3 (1) : 243-252.
รุ่งนภา หยงคงเกษมสุข. (2561). “วัฒนธรรมการเมืองปัญหาเชิงโครงสร้างของประเทศไทยประชาธิปไตยการเมืองไทย”. วารสารเศรษฐกิจการเมืองบูรพา. ปีที่ 6 (2) : 69-89.
วีระชัย ขันรุ่ง. (2553). “การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนในระดับท้องถิ่นเทศบาลในจังหวัดนนทบุรี”วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยปทุมธานี. ปีที่ 2 (3) : 44.
ศราวุฒิ วิสาหรม, วชิรวัตติ์ อาริยะสิริโชติ, วนิดา เสาสิมมา. (2562). “การวิเคราะห์การสร่างพลเมืองเพื่อเสริมสร้างประชาธิปไตยจากฐานราก: กรณีศึกษาโรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองมหาสารคาม” วารสารการเมืองการปกครอง. ปีที่ 9 (3) : 1-23.
สมพร รุ่งเรืองกลกิจ, อิคฏา โคตนารา, เนตรชนก แก้วจันทา, ชมพูนุท กาบคำบา. (2560). “ทัศนคติของนักศึกษาในมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งต่อเพศภาวะในสังคมไทย”. วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. ปีที่ 43 (2) : 84-114.
อุทัย เอกสะพังและไพฑูรย์ อินทศิลา. (2559). “ความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อการบริหารงานตามหลัก สาราณียธรรมของผู้บริหารเทศบาลนครนครศรีธรรมราช”.วารสารมหาจุฬานาครทรรศน์. ปีที่ 3 (1) : 93-107.
Promgird P. (2014). “Political Culture and Democracy Development in NorthEast Rural Community Area : A Case Study of People in Khambong and Sa-ard Village, Ampure Nampong, Khon Kaen Province” Journal of Humanities, Social Sciences. Vol. 31(3) : 65-66.
ฌานิทธิ์ สันตะพันธุ์, วัฒนธรรมทางการเมืองของไทย : รัฐธรรมนูญที่แท้จริงซึ่งไม่เคยถูกยกเลิก, [ออนไลน์] แหล่งที่มา:http://public-law.net/publaw/view.aspx?id=1014, [4 มีนาคม 2562].
สยามรัฐ, ปัญหาการเมืองไทยมาจาก “ระบบ”หรือ“คน, [ออนไลน์] แหล่งที่มา: https://siamrath.co.th/n/ 29958, [7 พฤศจิกายน 2562].
ปรีชญา ขำเจริญ, “การมีส่วนร่วมทางการเมืองของภาคประชาชนกับการเลือกตั้ง: ศึกษา เฉพาะกรณีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดราชบุรี พ.ศ. 2551”, [ออนไลน์] แหล่งที่มา : http://library.senate.go.th/ document/Ext3468/3468772_0002.PDF [4 มีนาคม 2562].
Downloads
Published
Issue
Section
License
Copyright (c) 2022 Mahamakut Buddhist University
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว