Administrative Network of Knowledge Management Model for Professional Learning Community (PLC) of Small Schools under Suphanburi Primary Educational Service Area Office III

การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการเครือข่ายการเรียนรู้เพื่อมุ่งสู่ การเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของโรงเรียนขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 3

Authors

  • ประภาศรี จุดมี สพป.สพ.1

Keywords:

การพัฒนารูปแบบ, การบริหารจัดการเครือข่ายการเรียนรู้, มุ่งสู่การเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ, โรงเรียนขนาดเล็ก

Abstract

การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพการเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของโรงเรียน (2) พัฒนารูปแบบการบริหารจัดการเครือข่ายการเรียนรู้ และ (3) ศึกษาผลการทดลองใช้รูปแบบการบริหารจัดการเครือข่ายการเรียนรู้ ตามกระบวนการวิจัยและพัฒนา ผู้ตอบแบบสอบถาม ได้แก่ ผู้อำนวยการโรงเรียน ครูวิชาการและตัวแทนครูผู้สอน จำนวน 73 โรงเรียน รวมทั้งสิ้น 219 คน การการสนทนากลุ่ม จำนวน 8 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสอบถาม สถิติพื้นฐาน ได้แก่ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน

          ผลการวิจัยพบว่า

  1. ศึกษาสภาพการเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของโรงเรียน พบว่า ในภาพรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านลำดับสูงสุด ได้แก่ วิสัยทัศน์ หรือเป้าหมายร่วม อยู่ในระดับมาก รองลงมาได้แก่ ทีมงานร่วมแรงร่วมใจ หรือร่วมมือร่วมพลัง อยู่ในระดับมาก ชุมชนกัลยาณมิตร อยู่ในระดับมาก การสร้างบรรทัดฐานและค่านิยมร่วมกัน อยู่ในระดับมาก ร่วมเป็นผู้นำ อยู่ในระดับมาก การเรียนรู้และพัฒนาวิชาชีพ อยู่ในระดับมาก และรายด้านลำดับต่ำสุด ได้แก่ โครงสร้างสนับสนุนชุมชน อยู่ในระดับมาก
  2. เขียงที่ต้องการจะเยียมเยียม เยียมเยียม เยียมเยียม เยียมเยียม เยียมเยียมเยียม เยียมเยียดเยียดเ... 2) เข้าเป้าและเข้าร่วม 3) หน่วยงานหรือกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ 2 เครื่งเครื่... 3) ขั้นร่วมทำคะแนนร่วม 4) ขั้นร่วมทดสอบเป็นบทเรียน และ 5) ขั้นร่วมรับผลการแข่งขัน

          3.สำรวจความคิดเห็น ใช้ประดิษประทีปประเ ทธิ์ ประดิษประดิษ... สำรวจความคิดเห็นที่ท้าทายจากชุมชน รับรองและรับรองความถูกต้องจากชุมชน ยอมรับคำท้า และรับรองผลการประท้วง การขอประช... และความสนใจที่จะเข้าใช้ ความวิบัติ เน้นวิจารณญาณ และวิพากษ์วิจารณญาณ เพียวเพียว เพียวเพียว เน้นย้ำ เน้นย้ำ เน้นย้ำ เน้นย้ำ เน้นย้ำ เน้นย้ำ เน้นย้ำ เน้นย้ำ เน้นย้ำ เน้นย้ำ เน้นย้ำ เน้นย้ำ เน้นย้ำ เน้นย้ำ เน้นย้ำ!! ตะขิดตะขวงตะขิดตะขวงตะขิดตะขวงตะขบ ตะหลิว ตะหลิว ตะหลิว ตะหลิว ตะหลิว ตะหลิว ตะหลิว ตะหลิว ตะหลิว ตะหลิว ตะหลิว ตะหลิว ตะหลิว ตะหลิว ตะหลิว โหม... ด้านอธิบายอย่างละเอียดด้านอื่นๆสามารถมาก

References

กัสมัสห์ อาแด. (2561). การพัฒนารูปแบบชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพด้วยกระบวนการวิจัยปฏิบัติการแบบร่วมมือร่วมพลังในโรงเรียนประถมศึกษา. ปริญญานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชาวิจัย วัดผล และสถิติการศึกษามหาวิทยาลัยบูรพา.

เฉลิมชาติ เมฆแดง. (2558). แนวทางการพัฒนาความเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษาเอกชน. ปริญญานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช.

ชูชาติ พ่วงสมจิตร์. (2560). “ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพและแนวทางการนำมาใช้ในสถานศึกษา”. วารสาร ศึกษาศาสตร์ มสธ. 10(1) : 34-41.

ทิศนา แขมมณี. (2557). ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มี ประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 18. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ภัทรวรรธน์ นิลแก้ว บวรวิชญ์. (2559). รูปแบบการพัฒนาเครือข่าย ความร่วมมือทางวิชาการของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.

มินตรา ลายสนิทเสรีกุล, และปิยพงษ์ สุเมตติกุล. (2557). “กลยุทธ์การบริหารโรงเรียนสู่การเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้วิชาชีพของโรงเรียนมัธยมศึกษาในสหวิทยาเขตเบญจบูรพา. กรุงเทพมหานคร”. วารสาร OJED. 9(3) : 392-406.

วรลักษณ์ ชูกำเนิด, และเอกรินทร์ สังข์ทอง. (2557). โรงเรียนแห่งชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพครู เพื่อการพัฒนาวิชาชีพครูที่เน้นผู้เรียนเป็นหัวใจสำคัญ. วารสารวิทยบริการมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 25(1): 93-102.

วาสนา ทองทวียิ่งยศ. (2560). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของครูในสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหาร การศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

สมบูรณ์ ตันยะ. (2559). การพัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้ด้านการสอนตามแนวปฏิรูปในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมา.

สมศักดิ์ เอี่ยมดี. (2556). “การพัฒนาระบบการบริหารเครือข่ายการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา,” วารสารศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร. 15(ฉบับพิเศษ) : 216 - 224.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 3. (2560).แผนพัฒนาการศึกษา พ.ศ. 2560-2564.สุพรรณบุรี : สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 3.

สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา. (2559). แนวทางการส่งเสริม สนับสนุนเครือข่ายพัฒนาวิชาชีพครู และบุคลากรทางการศึกษา แบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community : PLC). กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.

สุภาพ คำวาง. (2559). กระบวนการพัฒนาวิชาชีพครูสู่ความเป็นชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพของกลุ่มเครือข่ายพัฒนาการศึกษาท้องถิ่นเชียงรายโซนเหนือ จังหวัดเชียงราย. รายงานการวิจัยโรงเรียนเทศบาล 1 (วัดพรหมวิหาร).

Downloads

Published

2022-12-02

Issue

Section

Research Articles