The relationship between internal supervision of school administrater’s teaching behaviors under the secondary education service area office Samutsakhon Samutsongkram

ความสัมพันธ์ระหว่างการนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษากับพฤติกรรมการสอนของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรสาคร สมุทรสงคราม

Authors

  • ณรงค์ภัทร ดวงชัย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง

Keywords:

การนิเทศภายใน, พฤติกรรมการสอนของครู

Abstract

การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษา 2) ศึกษาพฤติกรรมการสอนของครู และ 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการนิเทศภายในของผู้บริหารสถานศึกษากับพฤติกรรมการสอนของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรสาคร สมุทรสงคราม เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารและครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรสาคร สมุทรสงคราม จำนวน 285 คน โดยใช้วิธีสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถามแบบมาตราประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.98 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน

ผลการวิจัย พบว่า

  1. การนิเทศข้อความภายในของทางร้านที่เน้นความโปร่งโล่งโปร่งสบาย ... มีเพียงลูกค้าที่สั่งมาโดยเฉพาะ การโต้ตอบกับลูกค้า ปัญญาประดิษฐ์ คำพูดภายในของล... เนื้อหาการทำงานได้ดีการเน้นหนักเรื่องประสิทธิภาพและทรัพยากร
  2. ผู้นำสั่งของครูในนั้น พูดได้ตามใจชอบ และพยายามจะเยียมเยียดประเ... ท้าทายความสามารถพิเศษ สำรวจอย่างมาก ท้าทายอย่างมาก อย่างเช่น ประทั... ท้าทายโดยเน้นผลเฉลยสัปเหร่อ ปฏิบัติปฏิบัติกิจกรรมทางวิชาการเกี่ยวกับประเ ... ผู้เชี่ยวชาญครูอาจกล่าว อธิกรณ์อธิการโดยที่เกิดผลที่จะเกิดผลกับพัฒนาปรใขใ... ข้อมูลข่าวสารและข้อมูลข่าวสารที่มีในสถานบันเทิงอย่างสร้างสรรค์

3. การนิทัศน์ภายในของรีวิวสถานที่ศึกษากับพฤติกรรมเหยียบของครู มีความสัมพันธ์กันทางวิ...

References

กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น. (2551). คู่มือการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. กรุงเทพฯ.

กุลจิรา รักษนคร และคณะ. (2563). การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี หน่วยการเรียนรู้ เรื่อง “กินดี มีสุข” ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6.

จิณหธาน์ อุปาทัง. (2551). การศึกษาการดำเนินงานนิเทศภายในของโรงเรียนที่ได้รับการรับรองมาตรฐานการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการนิเทศการศึกษาและพัฒนาหลักสูตร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จิรภา คำทา. (2558). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการสอนของอาจารย์กับพฤติกรรมการเรียนของนักศึกษาคณะบริหารธุรกิจ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น. วารสารวิชาการ, 8, 1530.

จิริสุดา สุพันธนา. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างการนิเทศภายในของผู้บริหารกับพฤติกรรมการสอนของครูในกลุ่มโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัด

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฎพระนคร.

เชษฐา ทองยิ่ง. (2559). ปัญหาครู ปัญหาที่รอการปฏิรูป. ม.ป.ท.

ทิศนา แขมมณี. (2550). รูปแบบการเรียนการสอนทางเลือกที่หลากหลาย. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นูรีนา บือราเฮง. (2552). ความสัมพันธ์ระหว่างการนิเทศภายในโรงเรียนกับพฤติกรรมการสอนของครูอิสลามศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาส. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาอิสลามศึกษา หาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

ประภัสวรรณ ตู้แก้ว. (2559). การศึกษาพฤติกรรมการสอนของครูคอมพิวเตอร์ในโรงเรียนสังกัดเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ และนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู สาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎนครสวรรค์. วารสารการประชุมวิชาการระดับชาติการจัดเทคโนโลยีและนวัตกรรม, 2, 451.

พุทธชาด แสนอุบล. (2561). สภาพปัญหาและแนวทางการปรับปรุงการนิเทศภายในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 20. วารสารบัณฑิตศึกษา, 15, 171.

ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ.2561-2580.(2561). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 135 ตอนที่ 82 ก, 13 ตุลาคม 2561, หน้า 2. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560.(2560). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 134 ตอนที่ 40 ก, 6 เมษายน 2560.

วรรณพิศา พฤกษมาศ. (2553). การศึกษาดำเนินงานนิเทศภายในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครที่ได้รับการรับรองมาตรฐานการศึกษา. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุจิตรา แซ่จิว. (2557). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการนิเทศภายในสถานศึกษากับพฤติกรรมการสอนของครู สังกัดเทศบาลในจังหวัดระยอง จันทบุรี และตราด. ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎรำไพพรรณี.

สุรศักดิ์ ปาเฮ. (2545). การนิเทศภายในหัวใจของการปฏิรูปการเรียนรู้ในโรงเรียน. วารสารวิชาการ, 4, 8.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 11. (2560). คู่มือการนิเทศภายในโรงเรียน. ม.ป.ท.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, (2560), แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟฟิค.

อดิศักดิ์ สมบูรณ์กุล. (2553). การศึกษาปัญหาและแนวทางการพัฒนาการนิเทศภายในโรงเรียนของอำเภอวัฒนานคร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสระแก้ว เขต 2. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา.

Harris, B.M. (1985). Supervisory Behavior in Education (3rd ed.). Englewood Cliffs, New Jersey : Prentice-Hall.

Krejcie, R.V., & Morgan, D.W. (1970). Determining sample size for research activities. Journal of Educational and Psychological Measurement, 30(3), 607-610.

Downloads

Published

2022-12-02

Issue

Section

Research Articles