administrators’ strategic leadership affecting teachers’ Performance under the secondary educational service area office 6, Chachoengsao Province
Keywords:
dministration’ strategic leadership, Teacher performanceAbstract
The aims of the research were to 1) study administrators’ strategic leadership 2) study teachers’ performance 3) study the relationship of administrators’ strategic leadership with teachers’ performance and ) investigate factors of administrators' strategic leadership affecting teachers’ performance. Samples of the research consisted of 310 teachers of schools under the office of Secondary Education - Area 6 Chachoengsao province. The research instrument was a questionnaire developed by the researcher. The data were analyzed with Frequency, percentage, mean, standard deviation, Pearson's product-moment correlation coefficient, and multiple regression analysis. The research results were as follows: 1) Administrators' strategic leadership, as a whole, was at a high level, ranking by the mean scores from high to low; high level of promoting organization culture, building inspiration, implementing strategic and setting strategic direction 2) Teachers’ performance, as a whole, was at a high level, ranking by the mean scores from high to low; the role of the teachers, learning management and building of relations with parent and community. 3) Relationship of administrators’ strategic leadership with teachers’ performance, as a whole, was positive correlation at a high level at .01 level of statistical significance. 4) Administrators' strategic leadership affecting school administration; implementing strategy, building inspiration, and promoting organization culture could mutually predicted the teachers’ performance under the supervision of the Office of Secondary Education - Area 6, Chachoengsao province at the level of 61.80 percent. Standard score regression equation was Z's = 0.261 (X3) + 0.352 (X4) + 0.246 (X2)
References
เจตนา พรมประดิษฐ์ และศศิฉาย ธนะมัย. (2553). บทเรียนบนเว็บ : ทางเลือกหนึ่งของการแก้ปัญหาขาด แคลนครูผู้สอนวิชาห้องสมุดและการเรียนรู้สารสนเทศ. วารสารวิชาการ 13, 3 (กรกฎาคม - กันยายน 2553).
ณัฐวุฒิ ภารพบ. (2553). ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารโรงเรียนเอกชนในจังหวัดภาคใต้. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต (การบริหารการศึกษา). บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยทักษิณ.
ณิรดา เวชญาลักษณ์. (2560). ภาวะผู้นำทางการบริหาร. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นนทกร อาจวิชัย และมาริสา ไกรฤกษ์. (2554). ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์:รูปแบบของผู้นำยุคใหม่. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
นวลจันทร์ จุนทนพ. (2559). การศึกษาบทบาทภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดเทศบาลในจังหวัดจันทบุรี ระยอง และตราด. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.
นิตย์ สัมมาพันธ์. (2549). ภาวะผู้นำ : พลังขับเคลื่อนองค์กรสู่ความเป็นเลิศ. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ.
บรรจง ลาวะลี. (2560). “บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคไร้พรมแดน.” วารสารมหาวิทยาลัยมหามกุฏ.
ปนัดดา วรกานต์ทิวัตถ์. (2555). ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารโรงเรียนอาชีวะเอกชนกรุงเทพมหานคร ตามการรับรู้ของผู้บริหารและครู. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชา การจัดการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
พระมหาณัฐพล ดอนตะโก. (2551). คุณธรรมของผู้บริหารกับการปฏิบัติตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครูของครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุรีเขต 1. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศิลปากร.
พินิจ แสนวัง. (2555). สมรรถนะของผู้บริหารกับการปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษาของครูในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 2. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัญฑิต สาขาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ภูวเดช นิธิธานนท์. (2563, 5 มีนาคม 2563). ผู้อำนวยการโรงเรียนมัธยมสิริวัณวรี 3 ฉะเชิงเทรา. สัมภาษณ์. ราชวิทยาลัย วิทยาเขตร้อยเอ็ด 6, 2 (มิถุนายน - ธันวาคม 2560).
วันวิสาข์ ทองติง. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารกับประสิทธิผลของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 5. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฏเลย.
ศิริเพ็ญ สกุลวลีธร. (2556). ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษาต่อการบริหารงานของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.
สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2557). กฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ กฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : วี.ที.ซี.คอมมิวนิเคชั่น.
สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา. (2562). ข้อบังคับคุรุสภา. [ออนไลน์] สืบค้นเมื่อ.1.พฤษภาคม.2563 จาก http://www.ksp.or.th/ksp2018/2018/11/1811/t_0018/.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2556). บทวิเคราะห์สถานภาพการพัฒนาครูทั้งระบบและข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาครูเพื่อคุณภาพผู้เรียน. กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟฟิค.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2561). แผนการปฏิรูปประเทศด้านการศึกษา. คณะกรรมการอิสระเพื่อการปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Adair, J.E. (2010). Strategic Leadership: How to Think and Plan Strategically and Provide Direction. London: Kogan Page.
Best, J. W. & Khan, J. V. (1993). Research in Education (7th ed.). Boston: Allyn Bacon. Cengage Learning International Student Edition.
Johnson, G., and Scholes. K. (2003). Exploring Corporate Strategy, Texts, and Cases. 5th ed. Hemel Hempstead: Prentice Hal.
Krejcie, R. V., and Morgan, D. W. (1970). “Determining Sample Size for Research Activities”. Educational and Psychological Measurement. 30, 607 – 610.
Downloads
Published
Issue
Section
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว