EDUCATIONAL ADMINISTRATORS PERSONALITY AFFECTING STANDARD IMPLEMENTATION OF CHILD DEVELOPMENT CENTERS UNDER THE LOCAL ADMINISTRATIVE ORGANIZATION SRIRACHA DISTRICT CHONBURI PROVINCE
Keywords:
Attributes of the educational administrators, Implementation of standards child development centers, Local administrative organization.Abstract
The purpose of this research was to study: 1) level of the educational administrator's personality. 2) level of the standard implementation of child development centers. 3) the relation between educational administrators' personality with the standard implementation of child development centers. 4) The educational administrator's personality affecting the standard implementation of child development centers. The samples were 148 Teachers and teacher assistants taking care of children and child caregivers of child development centers under the local administrative organization Sriracha District Chonburi Province, obtained by using Krejcie and Morgan, Then use a simple random method by drawing lots. The tool used for data collection was a five levels rating scale questionnaire. The statistics used for data analysis were frequency, mean, standard deviation, Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient, and stepwise multiple regression analysis.
The results of the study were as follows: Teachers and teacher assistants taking care of children and child caregivers had comments about the educational administrator's personality, overall agree very level. Teachers and teacher assistants taking care of children and child caregivers had comments about the standard implementation of child development centers, overall agree very level. The educational administrator's personality had the highest positive relationship with the standard implementation of child development centers at the .01 level of statistical significance.
The educational administrator's personality affecting the standard implementation of child development centers under the local administrative organization Sri Racha District Chonburi Province: morality ethics, leadership, personality, and Human relations, at the .01 level of statistical significance.
References
กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น. (2553). มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครอง ส่วนท้องถิ่น. กรุงเทพฯ : กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น.
กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น. (2559). มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประจำปีงบประมาณ 2559. กรุงเทพฯ : กองส่งเสริมและพัฒนาการจัดการศึกษาท้องถิ่น.
กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น. (2561). การจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น [ออนไลน์]. เข้าถึง ข้อมูลวันที่ 15 เมษายน 2562 จาก http://www.dla.go.th/work/abt/ท้องถิ่น.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2561). คูมือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 สำหรับเด็กอายุ 3-6 ปี. สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
ชญาพัฒน์ ดอกมะลิ. (2557). คุณลักษณะของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการบริหารงานของโรงเรียนเทศบาลในจังหวัดฉะเชิงเทรา. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.
ชัยเสฏฐ พรหมศรี. (2550). การบริหารความเสี่ยง. กรุงเทพฯ : เอ็กซ์เปอร์เน็ท.
ชัยเสฏฐ พรหมศรี. (2550). การบริหารสถานศึกษาแนวใหม่ในรูปแบบหน่วยบริการรูปแบบพิเศษ. วารสารการศึกษาไทย, 3(21),48.
ชูศรี วงศ์รัตนะ. (2550). สถิติเพื่อการวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ทศพร จรุงพันธ์. (2553). ปัจจัยคุณลักษณะด้านผู้บริหารที่สัมพันธ์กับการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่ผ่านการดำเนินมาตรฐานการศึกษา สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดตาก. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร.
ทองทิพภา วิริยะพันธุ. (2551). การบริหารทีมงานและการแกปัญหา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สหธรรมิก.
ธีระ รุญเจริญ. (2553). ความเป็นมืออาชีพในการจัดและบริหารการศึกษายุคปฏิรูปการศึกษา (ฉบับปรับปรุง) เพื่อปฏิรูปรอบ 2 และประเมินภายนอกรอบ 3. พิมพ์ครั้งที่ 6 กรุงเทพฯ : ข้าวฟ่าง จำกัด
นภัสสร สว่างโคตร. (2553). การดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามทัศนะของบุคลากรเขตอำเภอสมเด็จ จังหวัดกาฬสินธุ์. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 4(1), 39 - 50.
นฤมล ศรีบุญเรือง. (2555). คุณลักษณะของผู้บริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบล. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบันฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์.
นวลอนงค์ อุชุภาพ. (2559). คุณลักษณะของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการดำเนินงาน ของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. วารสารราชภัฏสุราษฎร์ธานี. 3(2), 99 – 117.
นันทภัค เพ่งพิศ. (2557). การบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอหนองหงส์ จังหวัดบุรีรัมย์. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
นัยนา ฝาพิมาย. (2557). คุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารงานวิชาการของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลจังหวัดฉะเชิงเทรา. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.
นุชจรีย์ แสงสี. (2559). คุณลักษณะผู้บริหารที่ส่งผลต่อการดำเนินงาน ตามมาตรฐานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์การบริหารส่วนตำบลจังหวัดฉะเชิงเทรา. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.
บุญฑริก บุตราช. (2551). คุณลักษณะของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดสกลนคร. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.
บุญชม ศรีสะอาด. (2553). การวิจัยเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.
ปรัศนี เจริญใจ. (2551). การพัฒนาคุณภาพศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขององค์การบริหารส่วนตำบล เทพเสด็จ อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชา รัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ปริชาติ ศิลาแดง. (2557). การศึกษาคุณลักษณะของผู้บริหารโรงเรียนอนุบาลเมืองใหม่ชลบุรี สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดชลบุรี. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.
ผดุงขวัญ บุตรสิน (2558). คุณลักษณะของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการดำเนินงานด้านการมีส่วนร่วมและการสนับสนุนจากทุกภาคส่วนของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดปราจีนบุรี. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.
รัศมี ตู้จินดา. (2557). การบริหารงานของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดสิงห์บุรี. หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี.
ราชกิจจานุเบกษา. (2542). รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย. (6 เมษายน 2560). เล่มที่ 116 ตอนที่ 74 ก 19 สิงหาคม 2542.
ราชกิจจานุเบกษา. (2560). รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย. (6 เมษายน 2560). เล่มที่ 134 ตอนที่ 40 ก หน้า 14.
สันติ บุญภิรมย์. (2552). หลักการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ : บริษัทไทยร่มเกล้าจำกัด.
สัมมา รธนิธย์. (2553). ทฤษฎีและปฏิบัติการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ : ข้าวฟ่าง.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2550). แนวทางการกระจายอำนาจการบริหาร และจัดการศึกษาให้คณะกรรมการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาตามกฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอำนาจการบริหาร และจัดการศึกษา พ.ศ. 2550. กรุงเทพฯ : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศ จำกัด.
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน. (2563). คู่มือแนวทางการพัฒนาบุคลากรภาครัฐ พ.ศ. 2563 – 2565. กรุงเทพฯ : สถาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือน.
สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา. (2547). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟฟิค.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2554). กฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่งชาติ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : หจก. วี.ที.ซี. คอมมิวนิเคชั่น.
สำนักงานส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดชลบุรี. (2560). ข้อมูลพื้นฐานของ อปท จังหวัดชลบุรี [ออนไลน์]. เข้าถึงข้อมูลเมื่อวันที่ 12 มกราคม 2562 จาก http://oldweb.chonburilocal.go.th /public/ basicprovince/data/index/menu/220
สำนักพัฒนาระบบบริหารงานบุคคลและนิติการ. (2560). คู่มือการปฏิบัติงานการบริหารงานบุคคลของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
สุรีพร จิตต์เอื้อ. (2558). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลการจัดการศึกษาศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนตำบลในจังหวัดนนทบุรี. หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการศึกษา มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
อนิวัช แก้วจำนง. (2552). หลักการจัดการ The principles of Management. สงขลา : นำศิลป์โฆษณา.
อภิชา บุญภักรกานต์. (2551). การจัดการ Management. ปทุมธานี : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
อุไรวรรณ ศรีสุข. (2561). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตามมาตรฐานการศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดปทุมธานี. Veridian E-Journal, Silpakorn University, 11(1), 1222 – 1236.
Bartol, M. Kathryn & C. Martin. (1998). Management Quality. 2nd ed. New York: Prentice-Hall.
Bennis, W. (1984). On Becoming a Leader. Reading, MA: Addison Wesley.
Fayol, H. (1964). General Industrial Management. London: Pitman.
Fiedler. F. E. (1967). A theory of leadership effectiveness. New York: McGraw-Hill.
Good, Carter V. (1973). Dictionary of Education. New York: McGraw-Hill.
Griffin, R. W. (1996). Management. 5th ed. Houghton: Mifflin.
Henri, Fayol. (1964). General Industrial Management. London: Pitman.
Ivancevich, J. M. & Matteson, T. M. (2002). Organization Behavior and Management. 6th ed. Houston: McGraw-Hill.
Kinicki, A. & Williams, W.K. (2009). Management: Practical Introduction. 4th ed. New York: McGraw-Hill.
Krejcie, R.V. and Morgan, D.W. (1970). Educational and Psychological Measurement. New York: Minnesota University.
Likert, Rensis. (1961). The Human Organization: Its Management and vale. New York: McGraw-Hill.
Magunson, W.C. (2006). Characteristics of Successful School Business Manager. Dissertation Abstracts International. 32 (1), 133 - A.
Mayton, H.M. (1980). A Study of the Elementary School Principalship in the State of Alabama. Dissertation Abstracts International, 41(8), 4565-A.
Robbins, S.P. & Coulter, M.A. (2018). Management. 14th ed. Harlow: Pearson Education Limited.
Schermerhorn, John R. (2002). Management. U.S.A.: John Wiley & Sons.
Simon, H.A. (1976). Administrative behavior. New York: Macmillan.
Stogdill, Ralph M. (1974). Handbook of Leadership: a Survey of Literature. New York: The Free Press.
Webster’s Ninth New Collegiate Dictionary. (1999). Springfield. Massachusetts: Merriam Webster.
Wilson, B. (2002). Innovation curriculum [Mimeograph]. In The Second International Forum on Education reform: Key Factors in Effective Implementation. Bangkok: n.p.
Downloads
Published
Issue
Section
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว