Development Of Communication Writing Ability’s Grade 6 Students With Creativity-Based Learning Technique and Game

Authors

  • Chutima Walumas คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • กาญจนา วิชญาปกรณ์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

Keywords:

Communication Writing Skill, Creativity-Based Learning, Game

Abstract

The objectives of this research were 1) To compare the score of pre-test and pose-test of communication writing with creativity-based learning technique and game. 2) To study the students’ satisfaction of the students of communication writing ability’s grade 6 students with creativity-based learning technique and game. The samples were the 10 semester 2/2564 students of ability’s grade 6 of Watphothale School, using cluster purposive sampling. The research instruments consisted of 1) There were 10 plans of communication writing with creativity-based learning technique and game. 2) Innovative game. 3) The evaluation of communication writing. 4) The questionnaire on the satisfaction with the learning. The statistics used in the study were basic statistics, mean, standard deviation, and t-test for dependent samples.

          The results found that: 1) The comparison of the learning, the pose-test is higher than the pre-test at .05 significant. 2) the students’ satisfaction of the students was overall at the highest level.

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพมหานคร: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

กำธร ดิษธรรม. (2557). การพัฒนากิจกรรมการจัดการเรียนรู้แบบความคิดสร้างสรรค์เป็นฐาน เรื่อง ภาพปะติดจากวัสดุธรรมชาติ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. ระยอง: โรงเรียนปลวกแดงพิทยาคม สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18.

ญาณวรรณ ปิ่นคำ และคณะ. (2562). การพัฒนาการสอนทักษะการอ่านออกเสียงคำที่มีตัวสะกดตรงตามมาตราโดยใช้เกม สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มเครือข่ายพัฒนาการศึกษาแม่จันทรายสวรรค์ อำเภอแม่จัน จังหวัดเชียงราย. วารสารบัณฑิตวิจัย, 10(2): 77.

ทิศนา แขมมณี. (2543). 14 วิธีสอนสำหรับครูมืออาชีพ. กรุงเทพมหานคร: เท็กซ์แอนด์เจอร์นัล.

ไพลิน แก้วดก และทัศน์ศิรินทร์ สว่างบุญ. (2562). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้การสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐาน: การวิจัยผสานวิธี. วารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, (25)1: 206-224.

เรณูรัชต์ ประสิทธิเกตุ. (2554). จัดการเรียนรู้อย่างไรให้เด็กคิดเป็น. วารสารศรีนครินรินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 3(5): 2-3

วิริยะ ฤาชัยพานิชย์. (2558). การสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐาน Creativity Based Learning (CBL).

กรุงเทพมหานคร : วารสารนวัตกรรมการเรียนรู้, 1(2): 23-37.

ศิริวรรณ โสภิตภักดีพงษ์. (2544). การใช้เกมคำศัพท์ประกอบการสอนเพื่อสร้างความคงทนในการเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. สารนิพนธ์ ศศ.ม. กรุงเทพมหานคร : บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.

สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย. (2555). พระมหากรุณาธิคุณและพระปรีชาญาณ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ด้านภาษา หนังสือ และห้องสมุด. วารสารห้องสมุด, 56(2): 7.

สำเนา ศรีประมงค์. (2547). การศึกษาผลการใช้เกมคำศัพท์ประกอบการสอนที่มีต่อความคงทนในการเรียนรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนอัสสัมชัญ ระยอง. ปริญญานิพนธ์ ศศ.ม., การสอนภาษาอังกฤษในฐานะภาษาต่างประเทศ. กรุงเทพมหานคร : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

อมรรัตน์ อุ่นเรือน. (2545). ผลสัมฤทธิ์การเขียนสะกดคำภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนโดยใช้เกมการแข่งขันเป็นทีม. วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประถมศึกษา. เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

อัมพร เลิศณรงค์. (2559). การพัฒนารูปแบบการเรียนภาษาไทยโดยใช้ความคิด สร้างสรรค์เป็นฐานเรื่อง การเขียน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3. วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 17(1): 100-109.

Downloads

Published

2024-06-25

Issue

Section

Research Articles