The effect of infographic electronic book on teaching methods that encourage creative thinking for secondary level 2 students

Authors

  • Chuthamas Dhipayakamol มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • น้ำมนต์ เรืองฤทธิ์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

Keywords:

Electronic Book, Infographic, Creative Thinking

Abstract

The purposes of this research were to determine. 1) to develop of infographic electronic book on teaching methods that encourage creative thinking for secondary level 2 students 2) the student’s creative thinking ability after learn through the infographic electronic book 3) the student’s opinions about learning through the infographic electronic book. The sample size were 30 of student, secondary level 2 at Benjamarachalai school under the royal patronage of his majesty the king in Bangkok. The tool of this research were 1) art lesson plan, 2) an infographic electronic book and 3) assessment form for artwork by the students and 4) a questionnaire inquiring student’s opinions. The collected data were analyzed by mean and standard deviation.

          The research finding were as follow:

  1. With regard to the development for infographic electronic book revealed by the expert in the areas of multimedia and art content, the quality of the electronic book positively at high level.
  2. Student’s creative thinking ability after learning through the infographic electronic book was a total average score of 80.55 percent and quality of the creative thinking ability at high level.
  3. With regards of the student for secondary level 2 after learning through the infographic electronic book, the students revealed their opinions at the high level with the mean.

References

กรมวิชาการ. (2544). ความคิดสร้างสรรค์. กรุงเทพมหานคร : กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพมหานคร : องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

กิดานันท์ มลิทอง. (2543). เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ครรชิต มาลัยวงศ์. (2540). นวัตกรรมทางเทคโนโลยี 200 ทัศนะไอที. กรุงเทพมหานคร : ซีเอ็ดยูเคชั่น.

จงรัก เทศนา. (2565). อินโฟกราฟิก (Infographics). แปลและเรียบเรียง สืบค้นเมื่อ 15 กุมภาพันธ์ 2565, จากhttps://chachoengsao.cdd.go.th/wp-content/uploads/sites/9/2019/01/ infographics _information.pdf.

ชนิตร์นันทน์ พ่วงวัน. (2559). การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์บนคอมพิวเตอร์แบบพกพา เรื่อง การจัดแสงถ่ายภาพในสตูดิโอ สำหรับนิสิตระดับปริญญาตรี. พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยนเรศวร.

ณรงค์ ศรีท้วม. (2551). การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ โดยใช้ระบบปฏิบัติการออกแบบร่วมกัน เรื่อง เทคโนโลยีสารสนเทศพื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยนเรศวร.

ณัฐวรรณ เฉลิมสุข. (2560). การสร้างสรรค์ทางทัศนศิลป์: ส่งเสริมจินตนาการเรียนรู้. นครปฐม : มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ประยงค์ มาแสง. (2542). การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ทางศิลปะ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่เรียนวิชาศิลปศึกษา โดยใช้แบบฝึกที่เน้นการจัดกิจกรรมแบบกลุ่มร่วมมือ. หน่วยศึกษานิเทศก์ สำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดชัยภูมิ : ชัยภูมิ.

พัชรา วาณิชวศิน. (2558). ศักยภาพของอินโฟกราฟิก (Infographic) ในการเพิ่มคุณภาพการเรียนรู้.วารสารปัญญาภิวัฒน์, 7: 227.

ไพฑูรย์ ศรีฟ้า. (2551). E-Book หนังสือพูดได้. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : ฐานบุ๊คส์.และสังคมศาสตร์ สถาบันราชภัฏมหาสารคาม.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2550). แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การจัดการเรียนรู้แบบส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์. กลุ่มส่งเสริมนวัตกรรมการเรียนรู้ของครู และบุคลากรทางการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : กระทรวงศึกษาธิการ

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาหาแห่งชาติ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร : บริษัท พริกหวาน กราฟฟิค จำกัด.

สุมณฑ์มาศ บุตรรัก. (2552). การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง เกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียง สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. ปทุมธานี : คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

สุภาภรณ์ สิปปเวสม์. (2545). ประสิทธิภาพของหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ที่เขียนจากโปรแกรม Adobe Acrobat. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต.กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

เสาวลักษณ์ ญาณสมบัติ. (2545). การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เรื่อง นวัตกรรมการสอนที่ยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

อุทมพร รุ่งโรจน์.(2555). การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อใช้เป็นสื่อในกระบวนการสอนการคิดแก้ปัญหาอนาคตตามแนวคิดของทอร์แรนซ์ เรื่องภาวะโลกร้อน สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

Smiciklas M. (2012). The power of infographics: Using picture to communicate and connect with your audiences. Indianapolis, IN: Que Biz-Tech Sons, Inc.

Ross, A. (2009). Infographics designs: Overview, examples and best practices. instantShift. Retrieved from http://www.instantshift.com/2009/06/07/infographic-designs-overview-examples-and-best-practices.

Downloads

Published

2024-06-25

Issue

Section

Research Articles