Research Synthesis on Classroom Climate by Using Atlas.ti Program

Authors

  • พินโย พรมเมือง -
  • พระครูสุวัฒนธรรมาภรณ์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
  • พระศรูสิริธรรมนิเทศ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
  • อรรถ อภินนท์ธีระศักดา มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล

Keywords:

Classroom climate, Domain analysis , Synthesis of research

Abstract

This article was the documentary research. Its objective was to synthesis researches on classroom climate published in Thai Journal Online (Thaijo) database. The criterions of selecting research were that research articles were published in Thaijo and published within 11 years (2008-2018) concerning classroom climate. There were 29 research papers according to the criterions. A research synthesis applied domain analysis with the use of ATLAS.ti 7.0 program. The results from research synthesis about the classroom climate consisted of 6 components: warm interaction, parents’ expectation, self-esteem, learning style, classroom environment, and learning schedule. Classroom climate was causal factor to learning achievement motivation, thinking skill, and desired characteristics. Classroom climate had direct effect to teaching efficiency and life skill. Classroom climate could predict to learners’ seeking knowledge and learning satisfaction.

References

กรณ์กาญจน์ นนพัชรพงศ์ และบุญมี พันธุ์ไทย. (2599). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายในโรงเรียนมาตรฐานสากลเขตภาคเหนือ. วารสารดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์. 6(2), 124-134.

กัตติกา ธนะขว้าง จิราพร เกศพิชญวัฒนา และชนกพร จิตปัญญา. (2553). ปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ: การวิเคราะห์อภิมาน. Journal of Nurse Science. 28(3), 60-68.

กิตติญา แสนประสิทธิ์ จุไรรัตน์ อาจแก้ว และจุฑามาส ศรีจำนงค์. (2559). การพัฒนาโมเดลปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในโรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาเลย เขต 1: การวิเคราะห์กลุ่มพหุ. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 19(2), 167-175.

จินดา สวัสดิ์ทวี. (2559). การวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกส์ของปัจจัยที่ส่งผลต่อความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์. KKU International Journal of Humanities and Social Sciences. 7(2), 59-79.

เจษฎาภรณ์ อ้นแก้ว พัชราวลัย มีทรัพย์ และนิคม นาคอ้าย. (2557). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในโรงเรียนสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดพิษณุโลก: การวิเคราะห์พหุระดับโดยใช้โมเดลระดับลดหลั่นเชิงเส้น. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. 8(1), 18-36.

นัฐพร แสนประสิทธิ์ ภัทราพร เกษสังข์ นฤมล ศักดิ์ปกรณ์กานต์. (2557). การวิเคราะห์ตัวแปรที่มีอิทธิพลในการจำแนกนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ต่อผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) วิชาวิทยาศาสตร์ กลุ่มสูงและกลุ่มต่ำ ในโรงเรียนมัธยมศึกษาจังหวัดเลย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 19. วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย. 9(28), 71-82.

นิกูล ประทีปพิชัยและศันสนีย์ จะสุวรรณ์. (2556). ภาวะผู้นำด้านการสอนของผู้บริหารโรงเรียน พฤติกรรมการบริหาร ทักษะด้านวิชาการของครูและสภาพแวดล้อมในโรงเรียนที่มีผลต่อคุณภาพของโรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษาเพชรบุรี เขต 2. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 10(2), 216-228.

ปรียา พงศาปาน, กิตติศักดิ์ นิวรัตน์, สุชาติ ลี้ตระกูล. (2561). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรมในศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาเชียงราย เขต 3. วารสารการวิจัยกาสะลองคำ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย. 12(1), 21-30.

พัชรินทร์ สิงห์สรศรี, ยุวรี ญานปรีชาเศรษฐ และไชยยศ ไพวิทยศิริธรรม. (2561). อิทธิพลของความรู้พื้นฐานเดิมและบรรยากาศชั้นเรียนที่มีต่อจิตวิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น จังหวัดนครปฐม โดยมีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์เป็นตัวแปรส่งผ่าน. ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ. 11(2), 2349-2362.

พิมสิริ อ่อนนวล, สุชาติ ลี้ตระกูล และปรมินทร์ อริเดช. (2558). การวิเคราะห์พหุระดับปัจจัยที่ส่งผลต่อคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามแนวคิดจิตตปัญญาศึกษาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จังหวัดพะเยา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36. บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย. 8(18), 149-159.

แพรวพรรณ ติใหม่, สุวิมล ติรกานันท์, และบุญมี พันธุ์ไทย. (2559). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างบรรยากาศในโรงเรียนและบรรยากาศในครอบครัวกับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร. พิฆเนศวร์สาร. 12(1), 103-113.

ภัทรจิตรา แสงสุข และถมรัตน์ ศิริภาพ. (2558). ปัจจัยเชิงสาเหตุและผลของความเชื่อประสิทธิภาพในตนเชิงสร้างสรรค์ของนิสิตนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา OJED. 10(4), 182-195.

ภัทราวรรณ ซาสันเทียะ และสมเกียรติ ทานอก. (2560). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพการสอนของครูผู้สอนวิชาภาษาอังกฤษ ระดับชั้นมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 31. วารสารราชพฤกษ์. 15(2), 118-124.

โรสนี จริยะมาการและชื่นใจ สุกป่าน. (2561). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์: การวิเคราะห์พหุระดับ. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ สาขามนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์. 5(2), 26-40.

วรพรรณ ศรีกล่ำ, อนุ เจริญวงศ์ระยับ และ นิคม นาคอ้าย. (2559). ปัจจัยพหุระดับที่ส่งผลต่อคะแนนการสอบประเมินคุณภาพการศึกษาระดับชาติด้านภาษาอังกฤษ: การศึกษาของโรงเรียนที่มีผล NT ต่ำ ในจังหวัดพิษณุโลก. วารสารราชภัฏสุราษฎร์ธานี. 3(2), 81-98.

วรรณศิรินทร์ ภูฉายา และคณะ. (2061). การศึกษาระดับความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 โดยใช้หลักการตรรกศาสตร์คลุมเครือ. Southeast Bangkok Journal. 4(1), 98-114.

วรลักษณ์ ชูกำเนิด, เอกรินทร์ สังข์ทอง และชวลิต เกิดทรัพย์. (2557). รูปแบบชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพครูสู่การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 บริบทโรงเรียนในประเทศไทย. วารสารหาดใหญ่วิชาการ. 12(2), 123-134.

วลัยพร สุขปลั่ง และบรรพต วิรุณราช. (2558). สมรรถนะของบุคลากรสายผู้สอน สาขาวิชาการบริหารทรัพยากรมนุษย์สังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน. ว.มรม. มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 9(3), 139-148.

วัชรา จรูญผล เสรี ชัดแช้ม และ จันทร์พร พรหมมาศ. (2550). การวิเคราะห์พหุระดับของตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วารสารวิจัยและวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา. 5(1), 17-32.

วันเพ็ญ ประทุมทอง. (2557). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างระดับชั้น ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และบรรยากาศการเรียนรู้กับแบบการเรียนรู้ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ในเขตกรุงเทพมหานครตามทฤษฎีของคอล์บ. Journal of Education Khonkaen University. 37(3), 126-137.

วิญญู พูลศรี, ประพันธ์ สุทธาวาส, ญาณินท์ คุณา, และบุญเลิศ คำปัน. (2560). แรงจูงใจกับการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียนของนักศึกษาสาขาวิชาชีพครูคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น จังหวัดเชียงใหม่. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น. 11(1), 324-335.

วิลาวัลย์ ข่าทิพย์พาที และบุญชม ศรีสะอาด. (2560). ปัจจัยจำแนกความสามารถในการคิดวิเคราะห์ทางคณิตศาสตร์สูงและต่ำและแนวทางการส่งเสริมและพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จังหวัดยโสธร. วารสารวิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์. 12(34), 141-154.

ศันศนี โคตรชมพู, เชาว์ อินใย, และจุฑามาส ศรีจานงค์. (2559). โมเดลสมการโครงสร้างพหุระดับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลาภูเขต 1. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 18(4), 308-323.

ศิริพร ครุฑกาศ, รังศิมา วงษ์สุทิน, นงณภัทร รุ่งเนย และจริยา ชื่นศิริมงคล. (2561). ปัจจัยสภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการพัฒนาตนเองของนักศึกษาวิทยาลัยพยาบาล สังกัดสถาบันพระบรมราชชนก. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี. 29(1), 126-137.

ศิริวิมล ชูชีพวัฒนา และกมล โพธิเย็น. (2558). พฤติกรรมใฝ่เรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นของโรงเรียนสังกัดสังฆมณฑลราชบุรี จังหวัดราชบุรี. วารสารพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนา. 7(1), 199-214.

สร้อยสิรินทร์ เรืองบุญ อรัญ ซุยกระเดื่อง และอรุณี จันทร์ศิลา. (2560). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2. ว.มรม. 11(3), 45-56.

สุมนา โสตถิผลอนันต์. (2561). แนวทางในการสร้างสรรค์บรรยากาศในชั้นเรียนเชิงบวกในศตวรรษที่ 21 สําหรับครูมืออาชีพ. วารสารวิจัยราชภัฏพระนคร สาขามนุษยศาสตรและสังคมศาสตร์. 13(2), 373-389.

สุมรา คงภิรมย์ชื่น, สมชาย หมืนสายญาติ และผดุงชัย ภู่พัฒน์. (2558). ปัจจัยที่ส่งผลต่อแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพในวิทยาลัยเทคนิคฉะเชิงเทรา. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม. 14(1), 275-282.

อพันตรี พูลพุทธา, สุนทร จันทศิลา และ สุนทรพจน์ ดำรงค์พานิช. (2556). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อจิตวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ในจังหวัดสุรินทร์ : การประยุกต์ใช้โมเดลสมการโครงสร้างพหุระดับ. ว.มรม. (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์). 7(1), 147 - 158.

อมรรัตน์ แก่นสาร และคณะ. (2560). การพัฒนาตัวบ่งชี้จิตวิญญาณความเป็นครูของครูสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม. 7(1), 7-15.

อรภิวัลย์ ชัชชวพันธ์ (2552). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาชัยภูมิ เขต 1. วารสาร มทร. อีสาน. 2(1), 68-75.

อรอนงค์ แสนคำ ศักดิ์ไทย สุรกิจบวร วาโร เพ็งสวัสดิ์ และ วัลนิกา ฉลากบาง. (2561). รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อทักษะชีวิตนักเรียนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารมหาวิทยาลัยนครพนม. 8(2), 72-80.

อัชฌา ชื่นบุญ และชุติมา แสงดารารัตน์ (2560). ความผาสุกทางจิตใจ และบรรยากาศในการเรียนที่ส่งผลต่อผลการเรียนรู้ของนักศึกษาวิทยาลัยเซนต์หลุยส์. วารสารปัญญาภิวัฒน์. 9(ฉบับพิเศษ), 193-203.

เอกพัฒน์ เฮืองใสส่อง และเชาว์ อินใย. (2559). การพัฒนารูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคอมพิวเตอร์ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเลย เขต 2: การวิเคราะห์กลุ่มพหุ. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 18(3), 237-249.

เอื้อมพร หลินเจริญ. (2555). เทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ. วารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 17(1), 17-29.

Onwuegbuzie, Leech, and Collins. (2012). Qualitative Analysis Techniques for the Review of the Literature. The Qualitative Report. 17(56), 1-28.

Downloads

Published

2023-06-19

Issue

Section

Research Articles