Ethical Leadership of administrator affecting good governance in school Under the Office of Nakhon Pathom Primary Education Area 2

Authors

  • วุฒิเกียรติ เชาว์ชอบ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • นันท์นภัส นิยมทรัพย์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
  • นภาเดช บุญเชิดชู มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม

Keywords:

Ethical Leadership, Educational institution administrators, Good governance in schools

Abstract

The purposes of this research were to: 1) study the level of ethical leadership of school administrators, 2) study the level of school governance, and 3) analyze the ethical leadership of school administrators affecting the school governance. The sample group consisted of 306 teachers in schools under the Nakhon Pathom Primary Educational Service Area Office 2 derived by proportional stratified sampling as distributed by school size. The research instrument was a questionnaire constructed by the researcher. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, and stepwise multiple regression.

The findings of this research were as follows:

  1. Overall and in specific aspects, the ethical leadership of school administrators was at the highest level. The aspects were trust, respect, integrity, responsibility, and justice, respectively.
  2. Overall and in specific aspects, the school governance was at the highest level. The aspects were responsibility and audibility, equality, morality and ethics, rule of law, participation and consensus-seeking, effectiveness, decentralization, disclosure and transparency, efficiency, and responsiveness, respectively.
  3. The ethical leadership of administrators, including integrity (X1), liability (X4), trust (X3), and fairness (X5) together predicted the school governance at the percentage of 93 with statistical significance level at .05. The regression analysis equation was:

tot  =  0.24 + 0.26(X1) + 0.33(X4) + 0.24(X3) + 0.12(X5).

References

กานต์ บุญศิริ, พจนารถ พรเจริญวิโรจน์. (2557). ภาวะผู้นำกับการเป็นนักบริหารการศึกษามืออาชีพ. วารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์. 8(1).

แก้วกาญจน์ กิมานุวัฒน์. (2564). ปัจจัยการบริหารที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอำนาจเจริญ. วิทยานิพนธ์ ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

ขนิษฐ์ณิชา ทองสุข. (2560). การพัฒนาโปรแกรมเสริมสร้างภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารและพัฒนาการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

คำพร กองเตย. (2560). การพัฒนาตัวบ่งชี้ภาวะผู้นาเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร. ดุษฎีนิพนธ์ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.

จิตติรัตน์ แสงเลิศอุทัย. (2559). วิธีวิทยาการวิจัยทางการศึกษา. นครปฐม: คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.

ไชยวัฒน์ ค้าชู. (2548). การบริหารการปกครองที่โปร่งใสด้วยจริยธรรม. กรุงเทพมหานคร: น้าฝนการพิมพ์.

ดารุณี บุญครอง. (2560). วิเคราะห์แนวทางการจัดการศึกษาไทยกับการขับเคลื่อนการศึกษาสู่ยุคไทยแลนด์ 4.0. สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.

ธิติวุฒิ หมั้นมี. (2560). ภาวะผู้นำการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น. คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

ธีรพัฒน์ เพชรศรีจันทร์. (2562). ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการครูโรงเรียนประถมศึกษาของรัฐในจังหวัดอุทัยธานี. วิทยานิพนธ์นี้หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม.

ประสพชัย พสุนนท์, วรชัย สิงหฤกษ์. (2559). ปัจจัยที่มีผลต่อการนำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารจัดการของชุมนุมสหกรณ์ออมทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารการจัดการสมัยใหม่. 14(1).

ปริญญา นันทะมีชัย. (2556). ปัจจัยคัดสรรที่ส่งผลต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาพ. วิทยานิพนธ์หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.

พวงรัตน์ ทวีรัตน์. (2546). วิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.

วรินทร รองกลัด. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างความไว้วางใจในองค์การ การรับรู้การสนับสนุนจากองค์การ และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การของพนักงานบริษัทผลิตเครื่องดื่มและอาหารแห่งหนึ่ง. งานวิจัยหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

วิโรจน์ สารรัตนะ. (2553). โรงเรียน : การบริหารสู่ความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ทิพย์วิสุทธิ์.

สมยศ ปัญญามาก. (2561). หลักธรรมาภิบาลกับผู้นำองค์การ Good Governance Principles with Organizational Leaders. วารสารบัณฑิตแสงโคมคา. 3(1).

สำนักวิจัยและพัฒนาระบบงานบุคคล. (2561). วารสารข้าราชการ ปี 60. ฉบับที่ 3. สำนักงานนนทบุรี: สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน

สุเทพ ปาลสาร. (2555). การพัฒนาตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

หงษา วงค์จำปา. (2560). รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารและพัฒนาการศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

อุษารัตน์ ดาวลอย. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารด้วยหลักธรรมาภิบาลกับประสิทธิผลของโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 4 สระบุรี. วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

เอกภักดิ์ ฉ่ำมณี. (2564). ภาวะผู้นำศิริธรรมที่ส่งผลต่อการปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาหนองคาย. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

Downloads

Published

2024-12-30

Issue

Section

Research Articles