Information Technology and Communication Technology Leadership of Administrators Affecting Academic Administrative Effectiveness of Schools under Phranakhon Si Ayutthaya Primary Educational Service Area Office 1
Keywords:
Information technology and communication technology leadership, Effectiveness, Academic AdministrativeAbstract
This research aimed to: 1) study leadership in information and communication technology of school administrators; 2) study the effectiveness of academic administration of schools; and 3) study information technology and communication technology leadership of administrators affecting academic administrative effectiveness of schools. The sample used for this research was 186 school administrators and teachers responsible for academic of schools under Phranakhon Si Ayutthaya Primary Educational Service Area Office 1. The sample was obtained by stratified sampling. The research instrument was a questionnaire with the confidence value. The leadership in information and communication technology of school administrators was 0.94 and the effectiveness of academic administration of schools was 0.96. The statistics used for data analysis were mean, standard deviation and multiple regression analysis.
The results of the research were as follows: 1) Leadership in information and communication technology of school administrators as a whole were at the high average level; 2) The effectiveness of academic administration of schools, overall, the average was at a high level; and 3) information technology and communication technology leadership of administrators affects academic administrative effectiveness of schools under the office of Phra Nakhon Si Ayutthaya Primary Educational Service Area 1 with a statistical significance at the .05 level, with a forecast of 76.0 percent.
References
จรุณี เก้าเอี้ยน. (2557). เทคนิคการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา : กลยุทธ์และแนวทางการปฏิบัติสำหรับผู้บริหารมืออาชีพ. สงขลา: ชานเมืองการพิมพ์.
ดวงเดือน ตั้งประเสริฐ. (2557). การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะผู้นำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานระดับมัธยมศึกษาในจังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.
นิศาชล บำรุงภักดี. (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำทางเทคโนโลยีสารสนเทศของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลโรงเรียนในสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดสกลนคร. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย.มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.
ภูมิพัทธ เรืองแหล่. (2558). การพัฒนาระบบบริหารงานวิชาการศูนย์เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
วีรยุทธ นิมิตรดี. (2564). ผู้อำนวยการ. โรงเรียนประชาผดุงวิทย์ (ฟ้อน ฟุ้ง อุทิศ). สัมภาษณ์.
เศรษฐพงศ์ นันภิวงค์. (2563). ความสัมพันธ์ของภาวะผู้นำทางวิชาการกับประสิทธิผลของการบริหารวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สหวิทยาเขตดอยสามหมื่น สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 34. การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยพะเยา.
สุนันทา สมใจ. (2561). การบริหารสถานศึกษาด้วยภาวะผู้นำทางเทคโนโลยี. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, 12(1), 350 - 363.
เสรี ตั้งเจริญ. (2564). ผู้อำนวยการ. โรงเรียนวัดอินกัลยา. สัมภาษณ์.
อรุณีย์ จันทร์เสวก. (2564). ผู้อำนวยการ. โรงเรียนชุมชนวัดโขดเขมาราม (ประชาประเสริฐวิทย์). สัมภาษณ์.
อิทธิฤทธิ์ กลิ่นเดช. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงเทคโนโลยีกับการบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสระบุรี. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
Downloads
Published
Issue
Section
License
Copyright (c) 2024 Mahamakut Buddhist University
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว