The Development of Learning Achievement on “Materials in Daily life” and Science Process Skills of Prathomsuksa 4 Students by 5E Inquiry Learning Management Together with POE Teaching Strategy.
Keywords:
5E Inquiry Learning Management, POE Teaching Strategy, Science Process SkillsAbstract
This research has been performed with objectives 1) To develop lesson plans of 5E Inquiry Learning Management Together with POE Teaching Strategy. on “Materials in Daily life” of Prathomsuksa 4 students to be effective according to the 80/80 criterion. 2) To compare learning achievements on “Materials in Daily life” of Prathomsuksa 4 students between before and after learning, by using 5E Inquiry Learning Management Together with POE Teaching Strategy. 3) To compare science process skills of Prathomsuksa 4 students between before and after learning, by using 5E Inquiry Learning Management Together with POE Teaching Strategy. The samples used in this research were 29 Prathomsuksa 4 students studying in the second semester of the academic year 2022 at Nongsalapa Chadnontoon School, Obtained by cluster random sampling. The research instruments are 1) 6 lesson plans of 5E Inquiry Learning Management Together with POE Teaching Strategy. 2) Achievement Test on “Materials in Daily life” 3) Science Process Skills Test. The research statistics are used for analyzing data were percentage, mean, standard deviation and t-test.
The results of this research were as follows: 1) The effectiveness of Lesson plans of 5E Inquiry Learning Management Together with POE Teaching Strategy on “Materials in Daily life” was 81.12/80.69 which is higher than the specified criterion of 80/80. 2) The science post-learning achievement of Prathomsuksa 4 students by using 5E Inquiry Learning Management Together with POE Teaching Strategy on “Materials in Daily life”, was significantly higher than their pre-learning counterpart achievement at the .05 level 3)The post-learning science process skills of Prathomsuksa 4 students by using 5E Inquiry Learning Management Together with POE Teaching Strategy on “Materials in Daily life”, was significantly higher than their pre-learning counterpart achievement at the .05 level
References
กนิิษฐา ภููดวงจิิตร. (2564). การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) ร่วมกับเทคนิค POE เพื่อส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ขั้นบูรณาการ เรื่อง การเคลื่อนที่และแรง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และสาระภูมิศาสตร์ ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
ชวลิต ชูกำแพง. (2565). ชุมชนแห่งการเรียนรู้สู่การวิจัยในชั้นเรียน. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. (2552). 80 นวัตกรรม การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ. (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ : แดเน็กซ์อินเตอร์คอร์ปอเรชั่น.
ธนิยา ธรรมวิเศษ. (2559). ผลการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น ร่วมกับกลวิธีสอนแบบพีโออี เรื่องสารในชีวิตประจำวัน ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนหาดคำบอนวัฒนา จังหวัดหนองคาย. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
นัชชา แดงงาม และสุระ วุฒิพรหม. (2557). ผลการจัดการเรียนรู้แบบทำนาย – สังเกต – อธิบาย ร่วมกับการสาธิตอย่างง่ายต่อความคิดรวบยอดเรื่องการเคลื่อนที่แบบหมุน. หน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 5(1). สืบค้นจากhttp://ejournals.swu. ac.th/index.php/JSTEL/article/download/4262/4159.
บุญชม ศรีสะอาด. (2556). วิธีการทางสถิติสำหรับการวิจัย เล่ม 1. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.
ประสาท เนืองเฉลิม. (2558). การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปริศนา อิ่มพรหม. (2562). ผลการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ที่มีต่อทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
พิมพันธ์ เดชะคุปต์. (2544). “กระตุนการความคิดด้วยการใชคำถาม” ในการเรียนการสอนที่เนนผู้เรียนเป็นสำคัญ : แนวคิด วิธีและเทคนิคการสอน. กรุงเทพมหานคร : เดอะมาสเตอร์กรุ๊ป แมเนจเมนต์ จำกัด.
โรงเรียนหนองศาลาป่าชาดโนนตุ่น. (2564). รายงานการประเมินคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนหนองศาลาป่าชาดโนนตุ่น ปีการศึกษา 2564. ชัยภูมิ : โรงเรียนหนองศาลาป่าชาดโนนตุ่น.
โรงเรียนหนองศาลาป่าชาดโนนตุ่น. (2564). คู่มือการใช้หลักสูตรรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง 2564) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560). ชัยภูมิ : โรงเรียนหนองศาลาป่าชาดโนนตุ่น.
ศรัณย์รัชต์ บุญญานุรักษ์. (2560). ผลการเรียนแบบผสมผสานด้วยวิธีการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ที่มีต่อความสามารถในการคิดวิเคราะห์ เรื่อง ข้อมูลและสารสนเทศ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนมัธยมสิริวัณวรี 3 ฉะเชิงเทรา. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal, Silpakorn University. 10 (3): 2680-2698.
ศิริวรรณ ขึ้นประโคน. (2561). ผลการใช้ชุดกิจกรรม เรื่องสารในชีวิตประจำวัน โดยใช้การเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ปริญญา ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2555). การสอนแบบสืบเสาะหาความรู้. กรุงเทพฯ : สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2560). คู่มือการใช้หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับประถมศึกษา. กรุงเทพฯ : สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธิการ. (2554). การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค Predict-Observe-Explain (POE). กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.
สุทธิดา จำรัส. (2556). ประมวลสาระชุดวิชา สารัตถะและวิทยวิธีทางวิทยาศาสตร์. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1. หน่วยที่ 8 การจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์. นนทบุรี : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัย ธรรมาธิราช.
อรชุมา จันทร์สำเภา. (2564). ผลการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. การค้นคว้าอิสระปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
Sizer A., Tharp, H., Wrigley, J., Al- Bataineh, A., Park, D. (2021). The Impact of Pre-Service Teachers’ Orientation on the Implementation of Inquiry-Based Science Instruction. EURASIA Journal of Mathematics, Science and Technology Education, 2021, 17(11), em2028 ISSN:1305-8223 (online). https://doi.org/10.29333 /ejmste /11247
White, R.T. & Gunstone, R.F. (1992). Probing Understanding. Great Britain : Falmer Press.
Zhao, L., He, W., Liu, X., Tai, K. H., & Hong, J. C. (2021). Exploring the Effects on fifth graders’ Concept Achievement and Scientific epistemological beliefs: Applying the Prediction-Observation-Explanation Inquiry-based Learning Model in Science Education. Journal of
Baltic Science Education, Vol. 20, No. 4, 2021. ISSN 2538-7138 /Online/. https://doi.org/10.33225/jbse/ 21.20.664
Downloads
Published
Issue
Section
License
Copyright (c) 2024 Mahamakut Buddhist University

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว