Administrative Skills In The 21st Century Of School Administrators In Phanomsarakham District Chachoengsao Secondary Educational Service Area Office
Keywords:
Skills in the 21ST Century, Chachoengsao Secondary educational service area officeAbstract
The purposes of this research were 1) to study the administrative skills level in the 21st century of School administrators in Phanom Sarakham district Chachoengsao Secondary Educational service area office. 2) To compare the administrative skills in the 21st century of School administrators in Phanom Sarakham district Chachoengsao Secondary Educational service area office. The results were Classified by gender, educational background, age, and working experience. The sample group in this research involved 132 were secondary school teachers in Phanom Sarakham District Chachoengsao Secondary Educational Service Area Office. Stratified random sampling method was used, by comparing the proportion of the population with the specified sample. Then, a simple random sampling method was used to reach the specified number of sample groups. The instrument used in the study was a 5 – level rating scale questionnaire with a reliability level of .97. The data was analyzed by using frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, and a One way Analysis of variance.
The results showed that
1) The administrative skills level in the 21st century of School administrators in Phanom Sarakham district Chachoengsao Secondary Educational service area office overall was at a high level. Considering each aspect, it was found that the first average was Communication skills, followed by Creative thinking skills and Teamwork skills, respectively. 2) Comparison results administrative skills in the 21st century of school administrators in Phanom Sarakham district Chachoengsao Secondary Educational service area office revealed that administrative skills in the 21st century of school administrators in Phanom Sarakham district Chachoengsao Secondary Educational service area office classified by gender, educational background, age, and working experience overall were different with no statistical significance.
References
กณิษฐา ทองสมุทร. (2561). ทักษะการบริหารงานในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารสถานศึกษา ตามการรับรู้ของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 2. การค้นคว้าอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2565). สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. แผนพัฒนาการศึกษาขั้น พื้นฐาน (พ.ศ.2566-2570). กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
ชัยยนต์ เพาพาน. (2559). ผู้บริหารสถานศึกษายุคใหม่ในศตวรรษที่ 21. การประชุมวิชาการระดับชาติครุศาสตร์ วารสารการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาท้องถิ่นสู่ประชาคมอาเซียนทิศทางใหม่ในศตวรรษที่ 21 มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์. (1) : 301.
นฐกร วรรณวัตน์ และภาวิดา ธาราศรีสุทธิ. (2564). ทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาศตวรรษที่ 21 ตามการรับรู้ ของครู สังกัดสำนักงานเขตบางขุนเทียน เครือข่ายที่ 71 กรุงเทพมหานคร. Journal of Roi Kaensarn Academi. 6, (2) : 131-134.
นฤพล สายวิลัย และจิราภรณ์ ผันสว่าง. (2566). สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาศตวรรษที่ 21 ในสหวิทยาเขตสาเกตนคร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาร้อยเอ็ด. วารสารการบริหารการศึกษามมร.วิทยาเขตร้อยเอ็ด 3, (1) : 23.
นิภาพร รอดไพบูลย์. (2565). ทักษะการบริหารในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสระแก้ว. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษามหาวิทยาลัยบูรพา.
บุญชม ศรีสะอาด. (2560). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพมหานคร: สุวีริยาสาส์น.
บุญส่ง กรุงชาลี. (2561). ทักษะการบริหารในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
ปัทมา ปทุมสุวรรณ. (2562). ทักษะการบริหารในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่ส่งผลต่อประสิทธิผลโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 2. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี.
พเยาว์ เกตานนท์. (2566). ผู้อำนวยการสถานศึกษา. สัมภาษณ์เมื่อ 8 สิงหาคม 2566.
พงศ์พันธ์ อัศพันธ์ และวานิช ประเสริฐพร. (2566). ทักษะการบริหารในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 4. วารสาร มจร.อุบลปริทรรศน์. 8, (2) : 1655-1660.
มณฑาทิพย์ นามนุ. (2561). ทักษะของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประทุมธานี เขต 2. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
โรงเรียนพนมสารคาม (พนมอดุลวิทยา). (2564). สารสนเทศโรงเรียนพนมสารคาม (พนมอดุลวิทยา) พ.ศ. 2564. [ออนไลน์] สืบค้นเมื่อ 6 สิงหาคม 2566. จาก http://www.phanom.ac.th/web/news.php.
โรงเรียนหนองแหนวิทยา. (2563) รายงานประจำปีโรงเรียนหนองแหนวิทยา พ.ศ.2563. [ออนไลน์] สืบค้นเมื่อ 6 สิงหาคม 2566. จาก http://nongnaewittaya.com/mainpage.
วณิชวรรณ รัตนจารุพิทักษ์. (2564). ทักษะสำคัญในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครูในสหวิทยาเขตเบญจบูรพา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2. Journal of Roi Kaensarn Academi. 6, (4) : 55-56.
วิจารณ์ พานิช. (2553). ผู้บริหารองค์กรอัจฉริยะฉบับนักปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์ พลับลิชชิ่ง.
ศรสวรรค์ บุญณกรณ์ชัย. (2561). ภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โรงเรียนทวีธาภิเษก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1. สารนิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยเกริก.
สุวัฒน์ กู้เกียรติกาญจน์ และวิชิต แสงสว่าง. (2564). ทักษะการบริหารในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัดฉะเชิงเทรา. วารสาร มจร.สังคมศาสตร์ปริทรรศน์ 10, : 76.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาฉะเชิงเทรา (2566). สารสนเทศสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาฉะเชิงเทรา. [ออนไลน์] สืบค้นเมื่อ 1 สิงหาคม 2566. จาก http://www.ccs.go.th.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ. 2560 – 2579). กรุงเทพฯ : พริกหวานกราฟฟิค.
อดุลพร ชุ่มชวย และธีระพงศ์ บุศรากูล. (2562). ทักษะการบริหารในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารสถานศึกษาสำนักงานเขตพื้นการศึกษาประถมศึกษาอ่างทอง. วารสารศึกษาศาสตร์ มมร. 7, (2) : 175.
อติกาญจน์ ศรีสังข์. (2562). ทักษะการบริหารงานในศตวรรษที่ 21 ของผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครูผู้สอน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.
อนิรุทร์ บุญเกื้อ. (2566). รองผู้อำนวยการสถานศึกษา. สัมภาษณ์เมื่อ 8 สิงหาคม 2566.
Best, J. W. (1981). Research in education (4th ed.). New Jersey: Prentice Hall.
Cronbach, L. J. (1990). Essentials of psychological testing (5th ed.). New York: Harper Collins Publishers, 1990.
Krejcie, R. V. and Mogan, D. W. (1970). Determining Sample Size for Research Ativity. Educational and Psychological Measurement.
Likert. (1967). The Method of Constructing and Attitude Scale. New York: Wiley & Son.
Downloads
Published
Issue
Section
License
Copyright (c) 2024 Mahamakut Buddhist University

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตสิรินธรราชวิทยาลัย และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว