@article{mansup_2020, title={การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง :ฐานรากของการเมืองภาคพลเมือง}, volume={6}, url={https://so06.tci-thaijo.org/index.php/kpi_journal/article/view/244664}, abstractNote={<p>     รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ได้ขยายพื้นที่ของการเมืองภาคพลเมืองผ่านช่องทางและกระบวนการต่างๆ เพิ่มขึ้นจากรัฐธรรมนูญฉบับพุทธศักราช 2540 โดยเฉพาะในมาตรา 87 (4) “ส่งเสริมให้ประชาชนเข้มแข็งทางใน และจัดให้มีกฎหมายจัดตั้งกองทุนพัฒนาการเมืองภาคพลเมือง...” เพื่อดุลยภาพและประสิทธิภาพทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการปกครองและตรวจสอบการใช้อานาจรัฐอย่างเป็นรูปธรรม ทาให้การเคลื่อนไหวของการเมืองภาคพลเมืองชัดเจนขึ้นทั้งตามประเด็นปัญหาและตามพื้นที่ที่มีประเด็นร่วม ซึ่งนัยของการเมืองภาคพลเมืองที่ต้องการตามเจตนารมณ์รัฐธรรมนูญย่อมไม่ได้หมายความเพียงการมีส่วนร่วมทางการเมืองในลักษณะของการกดดันรัฐเพื่อแก้ไขปัญหา และการรวมตัวเพื่อต่อต้านรัฐ แต่หมายความถึงรวมถึงภาคพลเมืองที่ใส่ใจในประเด็นสาธารณะทั้งป้องกัน แก้ไข หรือคาดการณ์ ตรวจสอบ ด้วยความตระหนักในความเป็นเจ้าของอานาจอธิปไตยหน้าที่และหน้าที่แห่งความเป็นพลเมืองของตน</p>}, number={2}, journal={King Prajadhipok’s Institute Journal}, author={mansup, sarunyu}, year={2020}, month={Sep.} }