@article{issarachai_2020, title={บทบาทและการปฏิบัติหน้าที่ของสภาท้องถิ่นในการปกครองท้องถิ่น}, volume={5}, url={https://so06.tci-thaijo.org/index.php/kpi_journal/article/view/244684}, abstractNote={<p>     ระบอบประชาธิปไตยแบบตัวแทนที่แพร่หลายในปัจจุบัน เป็นผลมาจากแนวคิด รัฐธรรมนูญนิยม ซึ่งกระแสความคิดดังกล่าวได้แพร่หลายอย่างรวดเร็ว ภายหลังการประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับแรกของสหรัฐอเมริกาในฐานะรัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษรฉบับแรกของโลกในปี ค.ศ.1787 เป็นต้นมา หลายประเทศต่างก็มีการจัดทารัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษรในสถานะกฎหมายสูงสุดแห่งรัฐ เพื่อจากัดอานาจผู้ปกครอง คุ้มครองสิทธิเสรีภาพผู้อยู่ใต้ปกครองเอาไว้อย่างชัดแจ้ง ตลอดจนมีหลักการแบ่งแยกการใช้อานาจอธิปไตย และมีหลักการปกครองโดยกฎหมาย หรือ หลักนิติรัฐ ที่สอดรับอย่างดีกับการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ซึ่งมีประชาชนเป็นเจ้าของอานาจอธิปไตย แต่ด้วยข้อจากัดของความเป็น รัฐชาติ ประชาธิปไตยตัวแทนจึงเป็นรูปแบบอันเหมาะสมกับเงื่อนไขดังกล่าวที่สุด พร้อมๆ กันกับที่ การเลือกตั้ง ได้เริ่มถูกนามาใช้เป็นกระบวนการทางการเมืองที่แสดงออกถึงเจตจานงในการเลือกสรรผู้ปกครองของประชาชนในฐานะเจ้าของอานาจอธิปไตย และเป็นกิจกรรมเพื่อสร้าง ความชอบธรรม ในการปกครองได้เป็นอย่างดี</p> <p>     อาจกล่าวได้ว่าอุดมการณ์ประชาธิปไตยที่มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของประชาชนเป็นสาคัญ เป็นรูปแบบหนึ่งของการพยายามแสวงหาวิถีทางที่จะคงอานาจให้อยู่ในมือประชาชนให้มากที่สุด โดยมีหลักการคร่าวๆ ว่า ประชาชนไม่เพียงแต่มีสิทธิในการเลือกตั้ง (election) ตัวแทนเท่านั้น แต่ยังมีอานาจตัดสินปัญหา และกาหนดนโยบายทางการเมืองได้โดยตรงอีกด้วย ด้วยการนาหลักการต่างๆ มาใช้ เพื่อให้ประชาชนเป็นองค์อธิปัตย์อย่างแท้จริง โดยมีเครื่องมือสาคัญที่เป็นรูปธรรม อาทิ การทาประชามติ (referendum) การริเริ่มกฎหมาย (popular initiative) และการถอดถอน (recall) ฯลฯ เป็นต้น</p>}, number={2}, journal={King Prajadhipok’s Institute Journal}, author={issarachai ัyuttaporn}, year={2020}, month={Sep.} }