@article{bureekul_mansup_parnpuangsri_2020, title={การประเมินผลการส่งเสริมการมีส่วนร่วมทางการเมืองในบริบทของการกระจายอานาจและการจัดทากรณีศึกษาจากประสบการณ์ที่ได้รับ : กรณีศึกษา สภาพัฒนาหมู่บ้านหนองโก อาเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม เครือข่ายป่าชุมชนลุ่มน้าแม่ปิงตอนบน อาเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ และ องค์กรชุมชนประมงพื้นบ้านจังหวัดปัตตานี อาเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี}, volume={2}, url={https://so06.tci-thaijo.org/index.php/kpi_journal/article/view/244880}, abstractNote={<p>     รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 เป็นปัจจัยสาคัญที่ก่อให้เกิดการปฏิรูปการเมืองอย่างมีนัยสาคัญ นับแต่มีการปกครองภายใต้ระบอบประชาธิปไตยตั้งแต่ พ.ศ. 2475 และมีรัฐธรรมนูญมาแล้วถึง 16 ฉบับ รัฐธรรมนูญฉบับนี้เป็นฉบับที่ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการร่างตั้งแต่ต้น โดยมีเจตนารมณ์เพื่อเสริมสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน คานึงถึงสิทธิมนุษยชนและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ สร้างเสถียรภาพทางการเมือง สร้างการตรวจสอบอานาจรัฐ ส่งเสริมธรรมาภิบาลและการกระจายอานาจไปสู่ประชาชนโดยรวม ระยะ 5 ปี ของการบังคับใช้รัฐธรรมนูญมีการเปลี่ยนแปลงที่สาคัญในประวัติศาสตร์การเมืองไทยอย่างชัดเจน</p> <p>     อย่างไรก็ดีหลังการบังคับใช้รัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันมาแล้วกว่า 5 ปี รัฐบาลได้ดาเนินการกระจายอานาจไปแล้วอย่างเป็นขั้นขั้นเป็นตอน ประชาชนในท้องถิ่นต่างๆ ได้เริ่มเรียนรู้เรื่องของการมีส่วนร่วมและการกระจายอานาจและมีการใช้ประโยชน์จากเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญฉบับนี้ ดังนั้นสิ่งที่ท้าทายอย่างหนึ่งคือ การประเมินผลการมีส่วนร่วมของชุมชน โดยการศึกษาครั้งนี้ได้ทาการประเมินผลการมีส่วนร่วมของประชาชนในบริบทการกระจายอานาจ การจัดทาตัวชี้วัดประสิทธิผลและประสิทธิภาพการมีส่วนร่วมของประชาชนตามรัฐธรรมนูญแห่งราช-อาณาจักรไทย พุทธ-ศักราช 2540 โดยใช้กรณีศึกษา 3 กรณี คือ สภาพัฒนาหมู่บ้านหนองโกอาเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม เครือข่ายป่าชุมชนลุ่มน้าแม่ปิงตอนบน อาเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ และเครือข่ายองค์กรชุมชนประมงพื้นบ้าน จังหวัดปัตตานี</p>}, number={3}, journal={King Prajadhipok’s Institute Journal}, author={bureekul, thawilwadee and mansup, sarunyu and parnpuangsri, sirikunya}, year={2020}, month={Sep.} }