วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou <p><strong>วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ </strong> กำหนดเผยแพร่ปีละ 3 ฉบับ (ฉบับที่ 1 มกราคม - เมษายน, ฉบับที่ 2 พฤษภาคม - สิงหาคม, ฉบับที่ 3 กันยายน – ธันวาคม) มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการศึกษาค้นคว้า และเพื่อเผยแพร่บทความวิจัยและบทความวิชาการแก่นักวิจัย นักวิชาการ คณาจารย์ และนักศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ในมิติดังนี้ ด้านรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ ด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ และด้านการจัดการศึกษา ตลอดจนถึงการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับศาสตร์สมัยใหม่ ทุกบทความที่ตีพิมพ์เผยแพร่ได้ผ่านการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิ อย่างน้อย 3 ท่าน เปิดรับบทความทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ</p> <p>บทความที่ส่งมาขอรับการตีพิมพ์ใน วารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ จะต้องไม่เคยตีพิมพ์หรืออยู่ระหว่างการพิจารณาจากผู้ทรงคุณวุฒิเพื่อตีพิมพ์ในวารสารอื่น ผู้เขียนบทความจะต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์การเสนอบทความวิชาการหรือบทความวิจัยเพื่อตีพิมพ์ในวารสาร มจร อุบลปริทรรศน์ อย่างเคร่งครัด รวมทั้งระบบการอ้างอิงต้องเป็นไปตามเกณฑ์ของวารสาร</p> th-TH journal.of.mcu.ubon.review@gmail.com (พระครูวุฒิธรรมบัณฑิต รศ.ดร.) supasit.kon@mcu.ac.th (ศุภสิทธิ์ คงทน) Fri, 31 Jan 2025 07:07:12 +0700 OJS 3.3.0.8 http://blogs.law.harvard.edu/tech/rss 60 THE STUDY OF THE INFLUENCE MECHANISM OF OVERCONFIDENCE AMONG PROJECT MANAGERS IN SOCIAL ORGANIZATIONS—BASED ON THE PERSPECTIVE OF TIME MANAGEMENT https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274832 <p>The operation of social organizations in China is mainly project-based, and project managers need to allocate resources reasonably to drive project progress based on the urgency and importance of the projects while operating multiple projects simultaneously. However, project managers often find themselves in a passive situation where social organizations experience project delays or terminations due to their own overconfidence bias.</p> <p>In view of this, this paper, based on a detailed interpretation of social organization project managers and the concept of overconfidence, constructs a theoretical framework for the impact mechanism of overconfidence of social organization project managers from the perspective of time management. At the same time, it uses research methods such as the Delphi method, questionnaire survey, and multiple linear regression to conduct a questionnaire survey of social organization project managers in five provinces of China, and uses this data as support for empirical testing. The main research conclusions are as follows: time pressure has a positive impact on the overconfidence of social organization project managers; project importance has a negative impact on the overconfidence of social organization project managers; the psychological processing structure plays an intermediary role in the relationship between time pressure, project importance, and overconfidence of managers; knowledge plays a U-shaped moderating role in the intermediary effect of time pressure and the psychological processing structure, and a linear moderating effect on the rational component of the intermediary effect of project importance and the psychological processing structure.</p> Mengyu Shi Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274832 Thu, 13 Feb 2025 00:00:00 +0700 RESEARCH ON THE IMPACT OF THE NATIONAL VOCATIONAL EDUCATION PLATFORM'S AESTHETIC EDUCATION RESOURCES ON AESTHETIC EDUCATION IN CHINA https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275270 <p class="a"><span style="font-size: 10.0pt; line-height: 150%;">This article evaluated the impact of the aesthetic education resources of the National Vocational Education Platform on aesthetic education in China. A qualitative research method was used to study its contribution to teaching innovation, cross-border integration, cultural inheritance, and career development. The qualitative stage included a literature review and case study to identify key impact dimensions and form a basic research model. The results showed that the platform's resources significantly enhanced students' innovative thinking, comprehensive expression skills, cultural awareness, and career development capabilities. In particular, diversified teaching methods and combining art with other disciplines were found to enhance students' innovative and expressive abilities. Multiple regression analysis confirmed these effects, showing that the platform effectively supported students' educational development. The results highlight the key role of the National Vocational Education Platform in enriching China's aesthetic education, promoting interdisciplinary learning, and improving students' career preparation.</span></p> Yi Wang, Shaowen Wang, Yuanbo Zhong Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275270 Thu, 13 Feb 2025 00:00:00 +0700 THE INFLUENCE OF ANCHOR CHARACTERISTICS ON CONSUMER PURCHASE INTENTION IN E-COMMERCE LIVE BROADCAST https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275271 <p>In recent years, with the development of internet technology and the widespread use of mobile devices, live streaming has become popular worldwide and gradually integrated into people's daily lives. Existing research in the academic field has found that the study on host characteristics is not comprehensive enough and lacks systematic quantification of host characteristics. Therefore, this study aims to delve into the mechanisms by which host characteristics in e-commerce live streaming influence consumers' purchase intention, which has both theoretical and practical significance. Drawing on the S-O-R model, this paper explores the mediating role of perceived value between e-commerce host characteristics and consumers' purchase intention, as well as the moderating effect of innovation adoption tendency. To achieve this goal, a survey questionnaire was designed using established scales from previous studies and distributed to the target population in the form of an online survey. Subsequently, the collected data was statistically analyzed using SPSS software, and the research model and hypotheses were tested and validated based on the analysis results. The research findings indicate that perceived value mediates the relationship between host interactivity, professionalism, and popularity, and consumers' purchase intention, with innovation adoption tendency playing a moderating role. Therefore, hosts should shape their own unique style of live streaming that aligns with their own characteristics, consumer demands, and product features.</p> Zimei Sun , Guowei Hua Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275271 Thu, 13 Feb 2025 00:00:00 +0700 THE VALUE CO-CREATION OF ONLINE TOURISM ENTERPRISES BASED ON SERVICE DOMINANT LOGIC https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275273 <p>Based on a systematic review of relevant domestic and foreign literature, this article focuses on the impact of service-dominantlogic, dynamic capabilities, and customer trust on online tourism enterprise value co-creation, and constructs a conceptual model of the impact of service-dominantlogic on online tourism enterprise value co-creation. The results indicate that: service-dominantlogic does not directly affect online tourism enterprise value co-creation, but indirectly affects it through dynamic capabilities; service-dominantlogic not only directly affects dynamic capabilities, but also indirectly affects it through customer trust; Customer trust does not directly affect online tourism enterprise value co-creation, but indirectly affects it through dynamic capabilities; Dynamic capabilities and its resource integration capabilities, market perception capabilities, and environmental adaptability all play a mediating role in the relationship between service-dominantlogic, customer trust, and online tourism enterprise value co-creation.Therefore, online tourism enterprises need to base themselves on and practice the service-dominantlogic concept, build a dynamic capability mechanism, enhance customer trust, create a good environment and conditions for value co-creation, and promote enterprise value co-creation.The innovation of this study lies in the effective integration and construction of the theoretical model of value co-creation for online tourism enterprises. It proposes the mediating role of dynamic capabilities in the value co-creation of online tourism enterprises, and builds an operable path for online tourism enterprises to apply dynamic capabilities.</p> Peng Peng Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275273 Thu, 13 Feb 2025 00:00:00 +0700 DEVELOPMENT OF PROBLEM-BASED LEARNING INSTRUCTIONAL MODEL TO IMPROVE CRITICAL THINKING ABILITY FOR UNDERGRADUATE STUDENTS https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275589 <p>The research objectives were structured into three phases. Phase 1 involved a study population of 150 undergraduate students and 3 lecturers from Guangxi Minzu University enrolled in the Innovation Training Course during the first semester of the 2024 academic year. Phase 2 included the involvement of three experts who evaluated and confirmed the suitability of the problem-based learning instructional model. In Phase 3, the sample group consisted of 50 students enrolled in the same course during the second semester of the academic year. Methodologically, the research utilized several instruments: 1) questionnaires for students and interviews for lecturers, 2) a conformity assessment form to validate the instructional model, 3) lesson plans developed using the problem-based learning approach, and 4) a scoring rubric to assess critical thinking abilities. Data analysis involved statistical methods such as percentage calculations, mean values, and standard deviations.</p> <p>The research findings indicated that undergraduate students' critical thinking ability is influenced by internal and external factors. Internal factors include positive emotions, learning behaviors, teaching behaviors, attitudes, and physical health of both students and lecturers. External factors encompass teaching methods, materials, and classroom environments.</p> <p>Additionally, a problem-based learning instructional model was developed and evaluated by three experts, achieving a 100% consensus on its utility, feasibility, propriety, and accuracy. The model consists of five components: 1) Principles and rationale derived from the study of course content and students' critical thinking abilities; 2) Objectives based on research goals; 3) Course content structured to facilitate experimentation; 4) Teaching methods and materials aligned with problem-based learning; and 5) Evaluation through a scoring rubric assessing undergraduate students' critical thinking abilities.</p> Ye Tianru, Areewan Iamsa-ard, Tanaput Chancharoen, Wapee Kong-in Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275589 Thu, 13 Feb 2025 00:00:00 +0700 THE DEVELOPMENT OF ACADAMIC ACHIEVEMENT BY USING STEAM TEACHING METHOD IN MATHEMATICS FOR GRADE 4 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281610 <p>The purposes of this research are:&nbsp; 1) Compare the academic achievement in mathematics of grade 4 students before and after using the STEAM teaching method. 2) Examine student satisfaction towards Instructions by using with the mathematics STEAM teaching method. Research instrument include: 1) six learning plans by using STEAM teaching method in mathematics with a total of 12 hours. 2) Tow technology achievement tests: before and after learning (Mathematics). 3) a questionnaire on Student's satisfaction on academic achievement in mathematics through STEAM. The data were analyzed by mean, standard deviation, t-test Dependent.</p> <p>The research finding revealed that:</p> <ol> <li>Posttest learning by using STEAM teaching method in mathematics was higher than pretest learning at 0.05 level of significance. the average score before learning is 10.03, and the average score after learning is 21.73, with a full score of 30. The standard deviation (S.D.) of the pre-study scores was 4.60 and the standard deviation (S.D.) of the post-study scores was 4.32.</li> <li>The students were satisfied with the leaning by using STEAM teaching method in mathematics at the highest level(=4.65, S.D.= 36).</li> </ol> Sijie Zhou, Witthawat Kattiymarn , Noppakao Na Phatthalung Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281610 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 CORRELATION OF MARKETING STRATEGIES AND REQUIREMENTS FOR UTILIZING MODERN CONSTRUCTION MATERIAL STORES IN THE BORDER AREA OF UBON RATCHATHANI PROVINCE https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274267 <p>This study explores the relationship between the marketing mix and customer requirements for utilizing modern construction material stores in the border area of Ubon Ratchathani province. The sample consisted of 385 customers from Phibun Mangsahan District in Ubon Ratchathani province, selected using Krejcie and Morgan's formula through convenience sampling. Data was collected via a questionnaire, and the correlation coefficient analysis was used for statistical analysis.</p> <p>The findings indicate that all marketing mix elements—product quality, pricing, store location, and marketing promotion—are significantly related to the requirements for utilizing modern construction material stores in the border area of Ubon Ratchathani province, with a significance level of 0.01.</p> Thumwimon Sukserm, Yutitam Sutakan, Henry Fonji Achaleke, Shuai Guo, Marilou Volante Tragulmeesuk Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274267 Thu, 13 Feb 2025 00:00:00 +0700 SOCIAL PSYCHOLOGICAL ANALYSIS OF THE RESONANCE OF NEGATIVE CHARACTERS IN FILM AND TELEVISION DRAMAS——TAKING THE TYPICAL NEGATIVE CHARACTERS IN THE AMERICAN DC EXTENDED UNIVERSE FILM SERIES AS AN EXAMPLE https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/276134 <p class="a" style="text-indent: 20.0pt;"><span style="font-size: 10.0pt; line-height: 150%;">The social psychology of villains has always attracted much attention. They have evolved from a single "evil" image to a complex character, which resonates with the audience and reflects people's understanding of the pressure, dilemma, and moral ambiguity in real life. For example, the Joker in The Dark Knight reveals the hypocrisy and moral double standards of society, Ares in Wonder Woman shows the violent tendencies of human beings, and Steppenwolf in Justice League touches on the threats and insecurities in the context of globalization. These villains are catalysts for the growth of heroes and trigger discussions about morality, philosophy, and human nature.</span></p> <p class="a" style="text-indent: 20.0pt;"><span style="font-size: 10.0pt; line-height: 150%;">This article adopts a mixed method of qualitative and quantitative methods. Qualitative data is to collect audience reviews through film review websites such as Douban and IMDb and adopts the method of coding analysis. Quantitative data collection collects audiences' immediate reactions and comments on these villains through social media platforms such as WeChat and Weibo, providing intuitive feelings and personal insights. The diversity of data collection ensures the comprehensiveness of the data and the depth of analysis, providing a rich material basis for subsequent coding and qualitative analysis. Quantitative analysis methods such as reliability and validity tests and regression analysis are used.</span></p> Shuang Liu , Shu Zhong Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/276134 Thu, 13 Feb 2025 00:00:00 +0700 RESEARCH ON IMPROVING THE SECOND CLASS GAIN OF IDEOLOGICAL AND POLITICAL EDUCATION https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/276138 <p>This study is based on the educational principles of people-oriented and moral education, as well as the perspective of how to more effectively enhance the sense of gain in ideological and political education for college students. It explores relevant theoretical and practical issues related to the sense of gain in the second class of ideological and political education for college students. Through the analysis of the basic definition, connotation, and theoretical basis of the sense of gain in the second class of ideological and political education for college students, it analyzes the influencing factors and existing problems of the sense of gain in the second class of ideological and political education for college students, and proposes more scientific and targeted suggestions and countermeasures for improving the sense of gain in the second class of ideological and political education for college students.</p> Qian Bian Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/276138 Thu, 13 Feb 2025 00:00:00 +0700 IMPROVEMENT OF ACHIEVEMENT IN THE MUSIC APPRECIATION COURSE BY USING A COOPERATIVE LEARNING MODEL FOR UNDERGRADUATE STUDENTS https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/276594 <p>The objectives of this study were 1) to improve achievement in the music appreciation course by using a cooperative learning model for undergraduate students and 2) to compare students' achievement in the music appreciation course before and after using a cooperative learning model for undergraduate students. There were 35 students from freshmen in the second–semester academic years 2023 in Yunnan University, which is in the music appreciation course through the cluster random sampling. The research instruments involved 1) Lesson plan by using a cooperative learning model and 2) Achievement music appreciation course tests (essay test and performance assessment). Data were statistically analyzed by mean, standard deviation, and t-test for dependent samples.</p> <p>The results revealed the followings:</p> <p>1) Improvement of achievement in the music appreciation course by using a cooperative learning model for undergraduate students. The researcher studied and synthesized the cooperative learning model 5 steps: 1) Preparation stage, 2) Teaching stage, 3) Group activity stage, 4) Inspection and testing stage, and 5) summary and group work evaluation stage. The data analysis was assessment of the quality of the lesson plan according to cooperative learning model by 3 experts, and the results are shown that, the suitability of the research objectives has most suitable. After students have learned according to the lesson plans 1) basic knowledge of music appreciation, 2) expressive elements of music appreciation, and 3) style of music, the result showed that, the achievement in the music appreciation course the average score after learning by using cooperative learning model was 39.06 which was higher than the average score before learning was 11.00.</p> <p>2) The comparison of students' achievement in the music appreciation course between before and after learning by using a cooperative learning model for undergraduate students. The results showed overall that, the improvement of achievement in the music appreciation course after learning higher than before learning statistically significant at the level .01.</p> Yang Jiayi, Supaporn Srihamee, Phenporn Thongkamsuk Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/276594 Thu, 13 Feb 2025 00:00:00 +0700 USING EXPERIENTIAL LEARNING TO IMPROVE ACHIEVEMENT OF BASIC NURSING COURSE OF NURSING STUDENTS https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/276625 <p>The objectives of this study were 1) to use experiential learning to improve achievement of basic nursing course of nursing students and 2) to compare students' achievement of basic nursing course before and after the implementation base on the experiential learning. Through cluster random sampling, 40 nursing students from sophomore of Weifang Nursing Vocational College, China, in the second semester, academic year 2023. The research instruments involved 1) lesson plan according to base on experiential learning and 2) Achievement of Basic Nursing Course test (multiple choice test and performance assessment). Data were statistically analyzed by mean, standard deviation, and t-test for dependent samples.</p> <p>The results revealed the followings:</p> <ol> <li class="show">Using experiential learning to improve achievement of basic nursing course of nursing students. The researcher has studied the documents and research related on experiential learning from many researchers and synthesized into 4 steps for lesson plan developing: 1) Concrete experience, 2) Reflective Observation, 3) Abstract Conceptualization, and 4) Active Experimentation. The data analysis was assessment of the quality of the lesson plan according to experiential learning by 3 experts, and the results are shown the quality of the lesson plan by experts overall, the suitability of the research objectives has the most suitable. After 40 nursing students have learned according to the lesson plans, students’ achievement of the basic nursing course score between before and after learning using experiential learning of nursing students, the average score before learning was 33.58, the average score after learning was 50.39.</li> </ol> <p>2) The comparison of students' achievement of basic nursing course score before and after learning using experiential learning of nursing students. The results found that achievement of basic nursing course score of students after learning higher than before learning statistically significant at the .01 level.</p> Zhang Bin, Supaporn Srihamee , Phenporn Thongkamsuk Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/276625 Thu, 13 Feb 2025 00:00:00 +0700 MEDIATION EFFECTS OF TEACHERS’ LEADERSHIP ON THE RELATIONSHIP BETWEEN ADMINISTRATORS’ LEADERSHIP, MODERN DIGITAL EDUCATIONAL TECHNOLOGY, AND TEACHING QUALITY IN ART UNIVERSITIES IN HEBEI PROVINCE https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281612 <p>The research objectives were: (1) To verify a model of the mediation factors of teacher leadership on the relationship between administrators’ leadership, modern digital educational technology, and teaching quality in art universities in Hebei Province, and (2) To decompose the direct and indirect effects of administrators’ leadership, modern digital educational technology, and teacher leadership on teaching quality in Art Universities in Hebei Province. The sample size was 359 teachers, determined by G*Power and using a stratified random sampling method. The research instrument was a 5-point scale questionnaire for collecting data and was analyzed by means, standard deviation, CFA, and SEM. The research found that: (1) The model of mediation factors of Teacher’s leadership on the relationship between Administrators’ leadership, Modern digital educational technology factors, and Teaching quality in Art universities fits well with empirical data (Chi-square=106.42, df=48, CMIN/df=2.22, GFI=.95, CFI=.97, RMSEA=.06), and (2) Teacher leadership had a positive direct effect on teaching quality, administrators’ leadership, and modern digital educational technology factors had a positive direct effect on teaching quality and teacher leadership. (p&lt; .001). In addition, Administrators’ leadership and modern digital educational technology factors had an indirect effect on teaching quality via teacher leadership which was the mediator.</p> Lin Chen, Sataporn Pruettikul, Sukhum Moonmuang Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281612 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 CONFUCIAN CULTURE AND CORPORATE GREEN TECHNOLOGICAL INNOVATION: AN EMPIRICAL TEST FROM THE PERSPECTIVE OF INFORMAL INSTITUTIONS https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281613 <p>The rapid growth of China's economy often comes at the cost of damaging the ecological environment. To effectively solve the problem of environmental deterioration, we must rely on technological progress, especially innovation-oriented green technology. Based on the sample of A-share listed companies in Shenzhen and Shanghai from 2008 to 2022, this study manually collected and sorted Confucianism data, and empirically tested the impact of Confucianism on corporate green technology innovation from the perspective of informal institutions. The results show that Confucianism significantly affects corporate green technology innovation. The greater the degree to which a company is affected by Confucianism, the higher its green technology innovation level. This article enriches the research on the influencing factors of corporate green technology innovation, supplements the literature on the economic consequences of Confucianism, and also provides strong support for promoting China's excellent traditional culture.</p> Xiang Gao, Liming Zhang Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281613 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 MULTI-GROUP DIFFERENCE ANALYSIS OF THE INFLUENCE OF THE SECOND CLASSROOM TRAINING ON COLLEGE STUDENTS' ENTREPRENEURIAL ABILITY https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281614 <p>This article adopts a multi group analysis method, mainly to explore the impact of the moderating variable of the cultivation of the second classroom in universities on the indicators of college students' entrepreneurial ability, in order to analyze how the second classroom in universities affects the cultivation of college students' entrepreneurial ability, and in which aspects it mainly affects. From the research results, it can be seen that practical activities in the second classroom of universities are important training paths, and competition activities in the second classroom of universities are important training paths.</p> Qian Bian Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281614 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 RESEARCH ON THE POLICY EVOLUTION PROCESS OF JAPAN'S ACADEMIC EVALUATION SYSTEM https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281615 <p>The policy evolution of Japan's academic evaluation system is guided by the formulation of the "Basic Plan for Science and Technology", which specifies the policy concepts and basic principles of national scientific research. The administrative department formulates corresponding academic evaluation systems, starting with the "National Research and Development Evaluation Guidelines", and then forming the "Research and Development Evaluation Guidelines of the Ministry of Education, Culture, Sports, Science and Technology" for universities or research institutions to refer to and develop their own evaluation systems. Finally, universities and other research and development institutions formulate specific rules to implement in practice. Finally, based on the sixth phase of the Science and Technology Basic Plan, the next revision of Japan's academic evaluation policy was discussed, and possible reform directions for Japan's academic evaluation system were discussed.</p> Chunjuan Zhou Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281615 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 RESEARCH ON THE IMPACT MECHANISM OF WORK VITALITY OF APPLIED UNDERGRADUATE UNIVERSITY TEACHERS https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281616 <p>On the basis of sorting out and integrating the relevant research on the work vitality of teachers at home and abroad, this study seeks to identify the influencing factors of the work vitality of applied undergraduate university teachers, and uses empirical research methods to conduct in-depth research on the mechanism of the impact of the work vitality of applied undergraduate university teachers. In empirical research, theoretical hypotheses have been proposed that organizational support has a positive impact on teachers' work vitality, professional identity has a positive impact on teachers' work vitality, and organizational support and professional identity play a mediating role in the process of their impact on teachers' work vitality. The relationship between organizational support, professional identity, and teachers' work vitality has been constructed, and self-efficacy plays a moderating role in the impact of organizational support on teachers' work vitality. Validate the hypotheses proposed by the research institute through questionnaire surveys and data analysis. The research results show that a good organizational environment can promote the performance of teachers' work vitality, and professional identity, as a mediating variable of teachers' work vitality, is an important driving factor affecting teachers' work vitality.</p> Jingzhen Yuan Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281616 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 CONSTRUCTION OF THE EVALUATION INDEX SYSTEM FOR DEEPER TEACHING https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281617 <p>This study aims to construct and validate an evaluation system for deeper teaching in classrooms to enhance the teaching quality of teachers and the deeper learning ability of students at the compulsory education stage. By comprehensively analyzing the theoretical foundations of deeper learning and deeper teaching, and integrating relevant domestic and international literature, the key characteristics of classroom deeper teaching are clarified, and a series of operational evaluation indicators are proposed. The study employed the Delphi method for multiple rounds of expert consultation to ensure the scientific nature and applicability of the evaluation system and to guarantee content validity. The evaluation indicator system encompasses multiple dimensions, including teaching objectives, teaching content, teaching methods, student engagement, and classroom interaction. Preliminary data collection and analysis results demonstrate high reliability and validity of the scales.</p> Yanhua Chen Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281617 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 CONSTRUCTING A COMPETENCY MODEL FOR SECONDARY SCHOOL INFORMATION TECHNOLOGY TEACHERS BASED ON TEXTUAL ANALYSIS METHOD TAKING CHINESE TEACHERS' PROFESSIONAL STANDARDS AS AN EXAMPLE https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281618 <p>With the construction and development of social informatization, the release of the new curriculum standards has put forward new requirements for information technology teachers. However, the selection, evaluation and training mechanism of information technology teachers need to be improved urgently. Building the competency model of secondary school information technology teachers in the new period and under the background of the new curriculum standards can enrich the competency theoretical research of relevant groups, provide reference for the recruitment and selection of information technology teachers, and also provide help for the personal career development of information technology teachers.</p> Xuan Lin Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281618 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 โปรแกรมพัฒนาการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูภาษาไทยในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274538 <p>การศึกษาครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นของการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูภาษาไทยในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 2) พัฒนาโปรแกรมพัฒนาการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูภาษาไทยในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 การดำเนินการวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ระยะ ดังนี้ ระยะที่ 1 การศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นของการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูภาษาไทยในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูผู้สอนภาษาไทย ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 184 คน เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ ค่าดัชนีความต้องการจำเป็น ระยะที่ 2 การพัฒนาโปรแกรมพัฒนาการจัดการเรียนรู้ เชิงรุกของครูภาษาไทยในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้บริหาร จำนวน 3 คน ครูภาษาไทย จำนวน 3 คน จากสถานศึกษาที่มีแนวปฏิบัติที่ดี และผู้ทรงคุณวุฒิประเมินโปรแกรม จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือ แบบประเมินความเหมาะสมและ ความเป็นไปได้ของโปรแกรม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยปรากฎดังนี้ 1) การจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูภาษาไทย ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 ในสภาพปัจจุบันโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ส่วนสภาพที่พึงประสงค์โดยรวม อยู่ในระดับมากที่สุด และลำดับความต้องการจำเป็นเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ การออกแบบการเรียนรู้ การใช้สื่อและเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการคิดและลงมือปฏิบัติ และการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามลำดับ 2) โปรแกรมพัฒนาการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูภาษาไทยในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 ประกอบด้วย 1. หลักการ 2. จุดประสงค์ 3. เนื้อหา ประกอบด้วย 4 Module ได้แก่ Module 1 การออกแบบการเรียนรู้ Module 2 การจัดการเรียนรู้ด้วยกระบวนการคิดและลงมือปฏิบัติ Module 3 การใช้สื่อและเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้ และModule 4 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 4. วิธีการพัฒนา ได้แก่ การเรียนรู้ด้วยตนเอง การฝึกอบรม การศึกษาดูงาน และ 5. การวัดและประเมินผล ซึ่งผลการประเมินโปรแกรมโดยรวม มีความเหมาะสมและความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากที่สุด</p> อัจฉริยา ศรีกุ, ทรงศักดิ์ ภูสีอ่อน Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274538 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 ความต้องการจำเป็นในการพัฒนาบริหารวิชาการ โรงเรียนชลราษฎรอำรุงตามแนวคิดผู้เรียนที่หลงใหลในการเรียนรู้ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274569 <div> <p class="MCU-Title"><span lang="TH">บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลำดับความต้องการจำเป็นของการบริหารวิชาการโรงเรียนชลราษฎรอำรุง ตามแนวคิดผู้เรียนที่หลงใหลในการเรียนรู้</span><span lang="TH">&nbsp; &nbsp;</span><span lang="TH">ใช้วิธีการวิจัยเชิงบรรยาย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความต้องการจําเป็น (</span><span lang="EN-US">PNI<sub>Modified</sub>) </span><span lang="TH">โดยมีผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้บริหารและครูโรงเรียนชลราษฎรอำรุง จำนวน </span><span lang="EN-US">160 </span><span lang="TH">คน ผลการวิจัยพบว่า </span><span lang="EN-US">(</span><span lang="TH">1) สภาพปัจจุบันของการพัฒนาบริหารวิชาการโรงเรียนชลราษฎรอำรุง <a name="OLE_LINK2"></a>ตามแนวคิดผู้เรียนที่หลงใหลในการเรียนรู้ อยู่ในระดับมาก โดย</span><span lang="TH">ด้านการพัฒนาสื่อและนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้</span><span lang="TH"> มีสภาพในการปฏิบัติในปัจจุบันมีค่าเฉลี่ยสูงสุดและด้านการวัดและประเมินผลมีสภาพในการปฏิบัติในปัจจุบันมีค่าเฉลี่ยต่ำสุด</span><span lang="TH"> สภาพที่พึงประสงค์ของการพัฒนาบริหารวิชาการโรงเรียนชลราษฎรอำรุง ตามแนวคิดผู้เรียนที่หลงใหลในการเรียนรู้ อยู่ในระดับมากที่สุด โดย</span><span lang="TH">ด้านการพัฒนาสื่อและนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้</span><span lang="TH"> มีค่าเฉลี่ยสูงสุด และด้านการพัฒนาหลักสูตรมีค่าเฉลี่ยต่ำสุด</span> <span lang="EN-US">(</span><span lang="TH">2) ค่าดัชนีความต้องการจําเป็นของการพัฒนาบริหารวิชาการโรงเรียนชลราษฎรอำรุง ตามแนวคิดผู้เรียนที่หลงใหลในการเรียนรู้ โดยภาพรวม คือ 0.3</span><span lang="EN-US">23</span><span lang="TH"> (</span><span lang="EN-US">PNI<sub>Modified</sub> = </span><span lang="TH">0.3</span><span lang="EN-US">23</span><span lang="TH">)</span><span lang="TH"> เมื่อพิจารณาตามขอบข่ายการพัฒนาบริหารวิชาการ พบว่า</span><span lang="EN-US"><br></span><span lang="TH">ด้านการวัดและประเมินผล มีค่าความต้องการจําเป็นในการพัฒนาสูงสุด และด้านการพัฒนาสื่อและนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ มีค่าความต้องการจําเป็นในการพัฒนาต่ำสุด</span></p> </div> พิชญ วัยวุฒิ, สุกัญญา แช่มช้อย Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274569 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ โดยการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้าน เรื่อง กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274613 <p style="font-weight: 400;">การวิจัยนี้ครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์โดยการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้าน เรื่อง กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยมีกลุ่มเป้าหมายในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนรัฐบาลแห่งหนึ่งในจังหวัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 31 คน โดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้าน จำนวน 6 แผน ได้แก่ 1) ชั้นบรรยากาศและการแบ่งชั้นบรรยากาศของโลก 2) อุณหภูมิของอากาศ 3) ความดันอากาศ 4) ลมและการเกิดลม 5) เมฆและการเกิดเมฆ 6) การเกิดฝน ซึ่งแต่ละแผนการจัดการเรียนรู้ประกอบไปด้วยใบกิจกรรมที่ใช้ในการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ และแบบวัดทักษะการคิดวิเคราะห์ จำนวน 12 ข้อ โดยทำการวัดตามองค์ประกอบของทักษะการคิดวิเคราะห์ ซึ่งประกอบด้วยการวิเคราะห์ความสำคัญ การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ และการวิเคราะห์หลักการ สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า 1) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านมีค่าเฉลี่ยคะแนนทักษะการคิดวิเคราะห์เท่ากับ 6.71 คะแนน อยู่ในระดับดีมาก 2) การพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ระหว่างเรียนด้วยใบกิจกรรมการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้าน มีค่าเฉลี่ยคะแนนโดยรวม 8.22 คะแนน อยู่ในระดับดีมาก</p> สิตานัน อุดรพันธ์, น้ำเพชร นาสารีย์ Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274613 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 แนวทางการพัฒนาคุณลักษณะครูในศตวรรษที่ 21 สำหรับโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จังหวัดกาฬสินธุ์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274604 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่คาดหวัง และความต้องการจำเป็น 2) หาแนวทางการพัฒนา และ 3) ประเมินแนวทางการพัฒนาคุณลักษณะครูในศตวรรษที่ 21 สำหรับโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดกาฬสินธุ์ การศึกษาแบ่งออกเป็น 3 ระยะ ระยะที่ 1 เป็นการศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง คือ ครู จำนวน 357 คน จากการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถามประมาณค่า&nbsp; 5 ระดับ มีความเชื่อมั่นของสภาพปัจจุบัน เท่ากับ 0.91 และสภาพที่คาดหวัง เท่ากับ 0.92 สถิติที่ใช้ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และดัชนีจัดเรียงลำดับความต้องการจำเป็นแบบปรับปรุง ระยะที่ 2 หาแนวทางจากผู้ให้ข้อมูลจากการเลือกแบบเจาะจง จำนวน 12 คน โดยการสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ระยะที่ 3 ประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 คน จากการเลือกแบบเจาะจง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพปัจจุบันและสภาพความคาดหวัง อยู่ในระดับมาก ส่วนความต้องการจำเป็น ลำดับแรก คือ การมีความรู้และเข้าใจเทคโนโลยี และลำดับสุดท้าย คือ การมีคุณธรรม จริยธรรมและศีลธรรม 2) แนวทางการพัฒนา ด้านคุณลักษณะที่สังเกตได้ 72 แนวทาง และด้านลักษณะที่อยู่ภายในตัวบุคคล 20 แนวทาง และ 3) แนวทางการพัฒนามีความเป็นไปได้ ความเหมาะสม และความถูกต้องอยู่ในระดับมากที่สุด</p> ธัชกร เฉยฉิว, พนายุทธ เชยบาล Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274604 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 ทักษะการบริหารของผู้บริหารในศตวรรษที่ 21 ที่ส่งผลต่อคุณภาพของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากระบี่ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274683 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาทักษะการบริหารของผู้บริหารในศตวรรษที่ 21 2) เพื่อศึกษาคุณภาพของสถานศึกษา 3) เพื่อศึกษาทักษะการบริหารของผู้บริหารในศตวรรษที่ 21 ที่ส่งผลต่อคุณภาพของสถานศึกษา และ 4) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาทักษะการบริหารของผู้บริหารในศตวรรษที่ 21 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากระบี่ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ครูและบุคลากรทางการศึกษา จำนวน 317 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างของเครจซี่ และมอร์แกน (Krejcie &amp; Morgan) มีวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับมีค่าความเชื่อมั่นอยู่ที่ 0.983 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwire Multiple Regression Analysis)</p> <p>ผลการวิจัยพบว่า</p> <ol> <li class="show">ทักษะการบริหารของผู้บริหารในศตวรรษที่ 21 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากระบี่ โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดคือ ทักษะด้านทางเทคโนโลยีและการใช้ดิจิทัล รองลงมาคือ ทักษะด้านมนุษยสัมพันธ์ ทักษะด้านการสื่อสาร ทักษะด้านการคิดวิเคราะห์และการคิดสร้างสรรค์ และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ ทักษะด้านการบริหารจัดการองค์การ</li> <li class="show">คุณภาพของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากระบี่ โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ด้านกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ รองลงมาคือ ด้านกระบวนการบริหารและการจัดการ และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ ด้านคุณภาพผู้เรียน</li> <li class="show">ทักษะการบริหารของผู้บริหารในศตวรรษที่ 21 ที่ส่งผลต่อคุณภาพของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากระบี่ พบว่า โดยภาพรวมมีความสัมพันธ์กันในระดับสูงมาก โดยมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01</li> <li class="show">แนวทางการทักษะการบริหารของผู้บริหารในศตวรรษที่ 21 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากระบี่ พบว่า ด้านทักษะการสื่อสาร ผู้บริหารสถานศึกษาต้องสื่อสารให้ชัดเจน ทั้งการเขียนและการพูด มีศิลปะในการสื่อสาร เรียนรู้ ปรับตัว ต้องพัฒนาตัวเองอย่างต่อเนื่อง เปิดรับด้วยการเป็นผู้ฟังที่ดี รับฟังผู้อื่นอย่างเข้าใจ รวมทั้งการให้ความสำคัญเรื่องภาษากาย ด้านทักษะการบริหารจัดการองค์การ ผู้บริหารสถานศึกษาต้องศึกษาลักษณะขององค์กรและภาคีเครือข่าย กำหนดเป้าหมายร่วมกันทั้งฝ่ายบริหารและสมาชิกในองค์การอย่างชัดเจนและตรงไปตรงมา ด้านทักษะการคิดวิเคราะห์และการคิดสร้างสรรค์ ผู้บริหารสถานศึกษาต้องฝึกให้มีลักษณะของนักคิด มีวิธีคิดเชิงบวก คิดอย่างมีวิสัยทัศน์ และคิดเชิงกลยุทธ์ รวมทั้งการคิดอย่างเป็นระบบ การคิดเป็นองค์รวมที่มองไปถึงผลที่เกิดขึ้นผลกระทบของเป้าหมายอีกชั้นหนึ่งจากการกำหนดเป้าหมายความสำเร็จของผลงาน มีความคิดที่กว้างไกล ด้านทักษะทางเทคโนโลยีและการใช้ดิจิทัล ผู้บริหารสถานศึกษาต้องยอมรับเทคโนโลยีและการเปลี่ยนแปลงในการบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล และนำมาใช้ในสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ พัฒนาตนเองให้รู้เท่าทันเทคโนโลยีสมัยใหม่ ด้านทักษะมนุษยสัมพันธ์ ผู้บริหารสถานศึกษาจะต้องเข้าใจและรู้จักตนเองให้มากที่สุด สามารถปรับปรุงตัวเองเพื่อให้เข้ากับผู้อื่นได้ เข้าใจถึงความเหมือนและความแตกต่างระหว่างบุคคล รวมทั้งการช่วยเหลือเอื้อเฟื้อต่อกัน มีจิตอาสามีน้ำใจช่วยเหลือได้ทุกเวลา มีเมตตาต่อผู้ร่วมงานทุกคน มีการเสริมแรงให้รางวัลชมเชยต่อบุคลากรที่ทำความดีตามโอกาสอันควร</li> </ol> จันทร์ทิวา เกี่ยวพันธ์, นิลรัตน์ นวกิจไพฑูรย์ , นพรัตน์ ชัยเรือง Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274683 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274669 <p style="font-weight: 400;">การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา คุณภาพผู้เรียน ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน และศึกษาแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ครู จำนวน 322 คน โดยใช้ตารางของเครจซี่ และมอร์แกน (Krejcie &amp; Morgan) ในการกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ โดยเลือกจากกลุ่มที่ตั้งอำเภอของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 ปีการศึกษา 2566 เป็นชั้นของการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถาม 5 ระดับ ที่เกี่ยวกับภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 มีค่าความเชื่อมั่นอยู่ที่ 0.99 สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันและการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณ</p> <p style="font-weight: 400;"> </p> <p style="font-weight: 400;"> ผลการวิจัยพบว่า</p> <ol> <li class="show" style="font-weight: 400;">ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ปรากฎว่า ด้านที่ค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ด้านการส่งเสริมการเรียนรู้ และด้านค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ ด้านการพัฒนาและสร้างมาตรฐานด้านวิชาการ ด้านการกำหนดเป้าหมายของโรงเรียน และ ด้านการส่งเสริมให้มีการพัฒนาวิชาชีพ</li> <li class="show" style="font-weight: 400;">คุณภาพผู้เรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ปรากฎว่าด้านที่ค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ด้านผู้เรียนมีทักษะชีวิต และด้านที่ค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ ด้านผู้เรียนมีความสามารถในการคิด</li> <li class="show" style="font-weight: 400;">ภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 ปรากฎว่า โดยภาพรวมมีความสัมพันธ์กันในระดับมาก</li> <li class="show" style="font-weight: 400;">แนวทางพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา พบว่า ผู้บริหารจะต้องสร้างมาตรฐานงานและพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง สม่ำเสมอ จำเป็นจะต้องวางแผนเพื่อกำหนดเป้าหมายของโรงเรียน ส่งเสริมให้สถานศึกษาเป็นสถานที่ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ จัดให้มีสิ่งจูงใจให้กับครูส่งเสริมให้มีการพัฒนาวิชาชีพทั้งผู้บริหาร ครู และบุคลากรให้มีความรู้ ความเข้าใจในด้านวิชาการเพื่อนำความรู้มาพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้เป็นไปตามเป้าหมายของหลักสูตรที่ตั้งไว้</li> </ol> วิลาสินี จันทร์ชุม, นิลรัตน์ นวกิจไพฑูรย์, นพรัตน์ ชัยเรือง Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274669 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 กลยุทธ์การบริหารหลักสูตรปฐมวัยในพื้นที่พหุวัฒนธรรมโรงเรียนบ้านเจดีย์โคะ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274652 <p>การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์สภาพแวดล้อม 2) สร้างและตรวจสอบกลยุทธ์ และ 3) ทดลองใช้และถอดบทเรียนกลยุทธ์การบริหารหลักสูตรปฐมวัยในพื้นที่พหุวัฒนธรรมโรงเรียนบ้านเจดีย์โคะ วิธีดำเนินการวิจัย 3 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอน 1 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ครูวิชาการ ครูปฐมวัย คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน และผู้ปกครอง จำนวน 17 คน ขั้นตอน 2 การสร้างและตรวจสอบ<br>กลยุทธ์ กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน เครื่องมือการวิจัยใช้แบบสอบถามตรวจสอบความเหมาะสม ขั้นตอน 3 การทดลองใช้และถอดบทเรียนกลยุทธ์ การทดลองใช้ตามขั้นตอนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (PAOR) และการถอดบทเรียนความสำเร็จ ผู้ให้ข้อมูล จำนวน 17 คน เครื่องมือการวิจัยใช้คู่มือการใช้กลยุทธ์ โครงการ/กิจกรรม แบบสัมภาษณ์ แบบการสะท้อนคิด แบบการทบทวนหลังปฏิบัติงาน (AAR) ประเด็นการสนทนากลุ่ม <br>การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์เนื้อหา</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม พบว่า 1) จุดแข็ง คือ โรงเรียนเป็นฐานของการเรียนรู้ทางวัฒนธรรมงานอาชีพ ผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาเด็กปฐมวัย 2) โอกาส คือ ชุมชนมีต้นทุนทางพหุวัฒนธรรม การอยู่ร่วมกันอย่างสันติ และสนุนการจัดการศึกษา 3) แรงบันดาลใจ <br>คือ ผู้บริหารสถานศึกษา ครู มีศรัทธาในวิชาชีพ ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลายเพื่อดึงเด็กกลับเข้าสู่ระบบการศึกษาเด็กปฐมวัย มุ่งพัฒนาโรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน และ 4) ผลลัพธ์ คือ สะท้อนการมีส่วนร่วมของชุมชน ปลูกฝังวัฒนธรรม วิถีชีวิตชุมชน <br>และวัฒนธรรมชนเผ่า 2. ผลการสร้างและตรวจสอบกลยุทธ์ พบว่า 1) ผลการสร้างกลยุทธ์ ประกอบไปด้วย กลยุทธ์การพัฒนาระบบการบริหารแบบมีส่วนร่วมในพื้นที่พหุวัฒนธรรม <br>กลยุทธ์การจัดการศึกษาปฐมวัยบนวิถีพหุวัฒนธรรม และกลยุทธ์การส่งเสริมการประชาสัมพันธ์เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของชุมชนบนวิถีพหุวัฒนธรรม และ 2) ผลการตรวจสอบกลยุทธ์ พบว่า กลยุทธ์มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด 3. ผลการทดลองใช้และการถอดบทเรียนกลยุทธ์ ทดลองใช้โดยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ 1) การวางแผน <br>2) การปฏิบัติ 3) การสังเกตการณ์ 4) การสะท้อนผล ผลการถอดบทเรียน พบว่า การบริหารเกิดจากการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในพื้นที่พหุวัฒนธรรม หลักสูตรปฐมวัยพหุวัฒนธรรมได้รับการพัฒนาสามารถนำมาใช้ได้จริง ชุมชนได้รับการประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความเข้าใจ<br>ที่ตรงกันบนพื้นที่พหุวัฒนธรรม</p> ชนิกานต์ วงษ์กิจ, ณัฎฐ์ รัตนศิริณิชกุล Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274652 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 กลยุทธ์การบริหารจัดการศึกษาปฐมวัยตามแนวคิดไฮสโคป ในโรงเรียนบ้านหินลาด https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274709 <p>การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.) วิเคราะห์สภาพแวดล้อม เพื่อการสร้างกลยุทธ์การบริหารจัดการศึกษาปฐมวัยตามแนวคิดไฮสโคปในโรงเรียนบ้านหินลาด 2.) เพื่อสร้างกลยุทธ์การบริหารจัดการศึกษาปฐมวัยตามแนวคิดไฮสโคปในโรงเรียนบ้านหินลาด 3. ) เพื่อทดลองใช้และถอดบทเรียนกลยุทธ์การบริหารจัดการศึกษาปฐมวัยตามแนวคิดไฮสโคปในโรงเรียนบ้านหินลาดกลุ่มตัวอย่างได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง จำนวน 28 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ และแบบบันทึกการทบทวนหลังการปฏิบัติงาน โดยเครื่องมือผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ และมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.89 การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา</p> <p> ผลการวิจัยพบว่า 1) จุดแข็ง ได้แก่ ผู้บริหาร ครู และผู้มีส่วนร่วมให้ความสำคัญกับการพัฒนาคุณภาพการศึกษาปฐมวัย โอกาส ได้แก่ การสนับสนุนจากภายนอกและการพัฒนาตนเองของครู แรงบันดาลใจ ได้แก่ การมุ่งมั่นพัฒนาตามแนวคิดไฮสโคปเพื่อส่งเสริมศักยภาพเด็ก และผลลัพธ์ที่คาดหวัง ได้แก่ การมีส่วนร่วม สภาพแวดล้อมและการจัดประสบการณ์ตามแนวคิดไฮสโคป 2) กลยุทธ์มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด ประกอบด้วย การบริหารจัดการสภาพแวดล้อม การส่งเสริมการจัดกิจกรรม และการใช้กระบวนการ PLC 3) ผลการทดลองใช้ พบการพัฒนาสภาพแวดล้อม ส่งเสริมการจัดกิจกรรม และดำเนินการ PLC อย่างเป็นขั้นตอน ผลการถอดบทเรียน พบว่าทุกฝ่ายมีความรู้ความเข้าใจและสามารถนำกลยุทธ์ไปพัฒนาต่อยอดการบริหารจัดการศึกษาปฐมวัยได้</p> กาญจนา ดีสร้อย, ณัฎฐ์ รัตนศิริณิชกุล Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274709 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 การพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงภาษาจีนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบโฟนิกส์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274684 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อเปรียบเทียบทักษะการอ่านออกเสียงภาษาจีนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบโฟนิกส์ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2&nbsp; 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้แบบโฟนิกส์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนที่กำลังศึกษาอยู่ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ศึกษา&nbsp; อยู่ในอำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จำนวน 3 โรงเรียน คือ โรงเรียนควนพระสาครินทร์&nbsp; โรงเรียนปากพะยูนพิทยาคาร โรงเรียนหารเทารังสีประชาสรรค์ มีนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ทั้งหมด 325 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/2 โรงเรียนหารเทารังสีประชาสรรค์ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จำนวน 40 คน ซึ่งได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาจีนที่ใช้จัดการเรียนรู้แบบโฟนิกส์ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 2) แบบประเมินทักษะการอ่านออกเสียงภาษาจีนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ซึ่งเป็นข้อสอบการประเมินการอ่านออกเสียงภาษาจีนก่อนเรียนและหลังเรียน โดยเป็นชุดข้อสอบเดียวกัน 3) แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบโฟนิกส์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าที t-test dependent</p> <p>&nbsp;ผลการศึกษาพบว่า</p> <ol> <li class="show">ทักษะการอ่านออกเสียงภาษาจีนของนักเรียนหลังการจัดการเรียนรู้สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .01</li> <li class="show">นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้แบบโฟนิกส์เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านออกเสียงภาษาจีนโดยรวมอยู่ในระดับมาก ( = 4.70, SD = 0.48)</li> </ol> มัทนพร บุญมาก, ประภาศ ปานเจี้ยง Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274684 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 กลยุทธ์ธุรกิจของแฟรนไชส์ซอร์ที่ส่งผลต่อความสำเร็จของแฟรนไชส์ซี ธุรกิจเครื่องดื่มในจังหวัดสงขลา https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274681 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ1) ศึกษาระดับการดำเนินกลยุทธ์ธุรกิจของแฟรนไชส์ซอร์เครื่องดื่ม 2) ศึกษาความสำเร็จของแฟรนไชส์ซีธุรกิจเครื่องดื่มใน 4 มุมมอง (BSC) 3) ศึกษากลยุทธ์ธุรกิจของแฟรนไชส์ซอร์ที่ส่งผลต่อความสำเร็จของแฟรนไชส์ซีธุรกิจเครื่องดื่ม การวิจัยนี้เป็นวิจัยแบบสำรวจ โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ประกอบการแฟรนไชส์ซีธุรกิจเครื่องดื่ม ที่เปิดกิจการมาแล้วอย่างน้อย 1 ปี ในเขตอำเภอหาดใหญ่และอำเภอเมืองสงขลา จำนวน 209 ชุด สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ สถิติถดถอยพหุคูณ ผลการทดสอบสมมติฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) วิเคราะห์ระดับการดำเนินกลยุทธ์ธุรกิจของแฟรนไชส์ซอร์ทั้งภาพรวมและรายด้านพบว่า อยู่ในระดับมากด้านการสร้างแบรนด์ มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด 2)&nbsp; วิเคราะห์ความสำเร็จของแฟรนไชส์ซีธุรกิจเครื่องดื่มใน 4 มุมมอง (BSC) มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ด้านการเงิน มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด &nbsp;3) กลยุทธ์ธุรกิจของแฟรนไชส์ซอร์ด้านการสร้างแบรนด์ และด้านนวัตกรรม ส่งผลต่อความสำเร็จของแฟรนไชส์ซีธุรกิจเครื่องดื่มทั้ง 4 มุมมอง (BSC)</p> อัญญารัช บัวชู, ยรรยง คชรัตน์, ชุติมา หวังเบ็ญหมัด Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274681 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 ส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อและพฤติกรรมหลังการซื้อเสื้อผ้ามือสองผ่านช่องทางออนไลน์ของผู้บริโภค https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274719 <p>&nbsp;บทความวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการตัดสินใจซื้อและพฤติกรรมหลังการซื้อเสื้อผ้ามือสองผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ของผู้บริโภค 2) เพื่อศึกษาส่วนประสมการตลาดออนไลน์ (6P) ผลิตภัณฑ์ ราคา ช่องทางการจำหน่าย การส่งเสริมการตลาด การให้บริการส่วนบุคคล การรักษาความเป็นส่วนตัว ในการซื้อเสื้อผ้ามือสองผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ของผู้บริโภค 3) เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อและพฤติกรรมหลังการซื้อเสื้อผ้ามือสองผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์ของผู้บริโภค กลุ่มตัวอย่างคือ กลุ่มผู้บริโภคที่มีประสบการณ์การตัดสินใจซื้อเสื้อผ้ามือสองผ่านช่องทางออนไลน์ของผู้บริโภค รวมจำนวน 146 ราย ซึ่งผลการวิจัยสามารถสรุปได้ดังนี้ ส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์ ทั้ง 6 ด้าน ได้แก่ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ด้านส่งเสริมการตลาด ด้านการให้บริการส่วนบุคคล และด้านการรักษาความเป็นส่วนตัวมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก การตัดสินใจซื้อและพฤติกรรมหลังการซื้อเสื้อผ้ามือสองผ่านช่องทางออนไลน์ของผู้บริโภค มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากเช่นเดียวกัน นอกจากนี้ผลการวิจัยยังพบอีกว่า ส่วนประสมทางการตลาดออนไลน์ จำนวน 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการรักษาความเป็นส่วนตัว ด้านการส่งเสริมการตลาด และด้านราคา ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อและพฤติกรรมหลังการซื้อเสื้อผ้ามือสองผ่านช่องทางออนไลน์</p> พงศธร วอนเหมือน, ชุติมา หวังเบ็ญหมัด , เจตน์สฤษฎิ์ สังขพันธ์ Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274719 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 การศึกษาการบริหารลูกค้าสัมพันธ์บนสื่อสังคมออนไลน์และความไว้วางใจที่มีต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าผ่านช่องทางเฟซบุ๊กไลฟ์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274718 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อศึกษาปัจจัยการบริหารลูกค้าสัมพันธ์บนสื่อสังคมออนไลน์ที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าผ่านช่องทางเฟซบุ๊กไลฟ์ (2) เพื่อศึกษาปัจจัยความไว้วางใจที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าผ่านช่องทางเฟซบุ๊กไลฟ์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้วิจัยครั้งนี้ คือ ผู้บริโภคที่เคยซื้อสินค้าผ่านเฟซบุ๊กไลฟ์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบ สอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าความถี่ &nbsp;ค่าร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยการบริหารลูกค้าสัมพันธ์บนสื่อ สังคมออนไลน์ ด้านการมีของแถมพิเศษ ด้านความเป็นมืออาชีพ ด้านความสะดวกในการสื่อสาร และด้านการให้ข้อมูลอย่างละเอียดชัดเจน ปัจจัยความไว้วางใจ ด้านการเก็บข้อมูลข้อมูลส่วนตัวของผู้ซื้อเป็นความลับ ด้านการรับผิดชอบสินค้าหากเกิดการสูญหายหรือชำรุด ด้านมีการอัพเดตข้อมูลตลอดเวลา ส่งผล ต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าผ่านช่องทาง เฟซบุ๊กไลฟ์ ด้านความถี่ ด้านจำนวนเงิน และด้านปริมาณในการซื้อ สินค้าผ่านช่องทางการไลฟ์สดเฟซบุ๊กไลฟ์</p> อมรศรี นุ้ยพูล, เธียรชัย พันธ์คง, ชุติมา หวังเบ็ญหมัด Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274718 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 พจนานุกรมสมรรถนะของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในกิจกรรม อย.น้อยด้านอาหารและยา https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281622 <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์1) เพื่อทราบองค์ประกอบสมรรถนะของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในกิจกรรม อย.น้อยด้านอาหารและยา 2) เพื่อทราบพจนานุกรมสมรรถนะของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในกิจกรรม อย.น้อย ด้านอาหารและยา 3) เพื่อทราบแนวทางการบริหารเพื่อให้เกิดสมรรถนะของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในกิจกรรม อย.น้อยด้านอาหารและยา กลุ่มตัวอย่างของการวิจัย คือ โรงเรียนมัธยมศึกษาที่ดำเนินงานโครงการ อย.น้อย ผ่าน เกณฑ์มาตรฐานโรงเรียน อย.น้อยระดับดีเยี่ยม จำนวน 108 โรง ผู้ให้ข้อมูลโรงเรียนละ 3 คน ประกอบด้วย 1) ผู้อำนวยการ จำนวน 1 คน 2) ครูที่ปรึกษาชมรม อย.น้อย จำนวน 1 คน และ 3) นักเรียนประธานแกนนำ &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;อย.น้อย จำนวน 1 คน รวมทั้งสิ้น จำนวน 324 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 3 ฉบับ (1) แบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับสมรรถนะของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในกิจกรรม อย.น้อยด้านอาหารและยา (2) แบบยืนยันพจนานุกรมสมรรถนะของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในกิจกรรม อย.น้อยด้านอาหารและยา (3) แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างเกี่ยวกับแนวทางการบริหารเพื่อให้เกิดสมรรถนะของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาในกิจกรรม อย.น้อยด้านอาหารและยา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ มัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และการวิเคราะห์เนื้อหา</p> ณัฐภษร พสุสิทธิพงษ์ , สายสุดา เตียเจริญ Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281622 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 ความตั้งใจใช้บริการร้านอาหารสีเขียว ในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274720 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความตั้งใจใช้บริการร้านอาหารสีเขียวในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยใช้วิธีปรากฏการณ์วิทยา วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก ร่วมกับการสังเกตปรากฏการณ์จากผู้ให้ข้อมูลหลักซึ่งเป็นคือ ผู้บริโภคที่ใช้บริการร้านอาหารสีเขียวในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รวมจำนวน 10 คน</p> <p>ผลการศึกษาพบว่า ความตั้งใจใช้บริการร้านอาหารสีเขียวของผู้บริโภค โดยส่วนใหญ่มีความรู้ในเรื่องร้านอาหารสีเขียวว่าเป็นร้านอาหารที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ตั้งแต่การจัดร้านที่คำนึงถึงสิ่งแวดล้อมหรือธรรมชาติเป็นสิ่งสำคัญรวมไปถึงในเรื่องของอาหาร วัตถุดิบที่ร้านนำมาประกอบอาหาร จะต้องปลอดสารพิษ ปลอดภัยกับผู้บริโภคและเป็นอาหารเพื่อสุขภาพหรืออาหารสีเขียว เพราะผู้บริโภคโดยส่วนใหญ่นอกจากจะมีความชอบในอาหารสีเขียวแล้ว ยังมีผู้บริโภคอีกกลุ่มหนึ่งที่มีปัญหาเรื่องสุขภาพ จึงหันมาทานอาหารสีเขียว อีกทั้งยังมีในเรื่องของบรรจุภัณฑ์ที่ร้านอาหารสีเขียวนำมาใช้ ซึ่งผู้บริโภคมองว่าเป็นสิ่งสำคัญอย่างมาก เพราะการเลือกซื้อสินค้าในร้านอาหารสีเขียว ตัวบรรจุภัณฑ์จะเป็นอันดับแรกที่ทำให้ผู้บริโภคตัดสินใจซื้อสินค้านั้น หากเป็นสินค้าที่มีบรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมถึงแม้ราคาจะสูงว่าปกติ แต่ผู้บริโภคก็เต็มใจที่จะซื้อสินค้านั้น นอกจากเรื่องของบรรจุภัณฑ์แล้ว ผู้บริโภคโดยส่วนใหญ่ที่ใช้บริการร้านอาหารสีเขียวจะทราบดีว่า ราคาของอาหารค่อนข้างสูงกว่าร้านอาหารทั่วไป แต่ผู้บริโภคมองว่าหากเทียบคุณภาพของวัตถุดิบหรือสิ่งที่ได้รับมันคุ้มค่ากับราคา ทำให้ผู้บริโภคเต็มใจและตั้งใจใช้บริการร้านอาหารสีเขียว</p> ธนกร แก้วนก, เจตน์สฤษฎิ์ สังขพันธ์, ชุติมา หวังเบ็ญหมัด Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274720 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 คุณภาพบริการร้านค้าปลีกและความสะดวกในการเข้าถึงที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อซ้ำในร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิมของผู้บริโภคในเขตอำเภอสุไหงโกลก จังหวัดนราธิวาส https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274618 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับความสำคัญของคุณภาพบริการร้านค้าปลีก และความสะดวกในการเข้าถึงในการตัดสินใจซื้อซ้ำในร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิม 2) เพื่อศึกษาคุณภาพบริการร้านค้าปลีก และความสะดวกในการเข้าถึงที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อซ้ำในร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิม กลุ่มตัวอย่างคือ กลุ่มผู้บริโภคที่ตัดสินใจซื้อซ้ำจากร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิมของผู้บริโภคในเขตอําเภอสุไหง-โกลก จังหวัดนราธิวาส รวมจำนวน 400 ราย ซึ่งผลการวิจัยสามารถสรุปได้ดังนี้</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; คุณภาพบริการร้านค้าปลีก ทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ ด้านลักษณะทางกายภาพ ด้านความเชื่อถือได้ ด้านปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ด้านการแก้ปัญหา และด้านนโยบายมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก นอกจากนี้ยังพบว่าด้านความสะดวกในการเข้าถึงและการตัดสินใจซื้อซ้ำในร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากเช่นเดียวกัน ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า คุณภาพบริการร้านค้าปลีก จำนวน 3 ด้าน ได้แก่ ด้านปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ด้านการแก้ปัญหา และด้านนโยบาย และความสะดวกในการเข้าถึงส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อซ้ำในร้านค้าปลีกแบบดั้งเดิม</p> มูห่ำหมัด ปูตีล่า, ชุติมา หวังเบ็ญหมัด, เจตน์สฤษฎิ์ สังขพันธ์ Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274618 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 กลยุทธ์แฟรนไชส์ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อธุรกิจแฟรนไชส์เครื่องดื่มชากาแฟแบรนด์ท้องถิ่นของผู้ประกอบการ ในจังหวัดสงขลา https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274860 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษากลยุทธ์แฟรนไชส์ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อธุรกิจแฟรนไชส์เครื่องดื่มชากาแฟแบรนด์ท้องถิ่นของผู้ประกอบการรายย่อยในจังหวัดสงขลา โดยใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการสัมภาษณ์แบบเชิงลึกกับกลุ่มผู้ให้ข้อมูลจำนวน 5 คน คือ ผู้ประกอบการธุรกิจแฟรนไชส์เครื่องดื่มชากาแฟแบรนด์ท้องถิ่นที่ประกอบกิจการในจังหวัดสงขลา แล้วนำข้อมูลจากการสัมภาษณ์ทั้งหมดมาวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า กลยุทธ์ แฟรนไชส์ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านการจัดจำหน่าย ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านตราสินค้าแฟรนไชส์ และด้านการสนับสนุนแฟรนไชส์ ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อธุรกิจแฟรนไชส์เครื่องดื่มชากาแฟแบรนด์ท้องถิ่นของผู้ประกอบการรายย่อยในจังหวัดสงขลา</p> ศุภิกา ใบบาว, เจตน์สฤษฎิ์ สังขพันธ์, ชุติมา หวังเบ็ญหมัด Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274860 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศจังหวัดชลบุรีในภาวะวิกฤต https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274865 <p>การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ในการศึกษาได้แก่ (1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมและความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวในการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ จังหวัดชลบุรี (2) เพื่อศึกษาความต้องการการมีส่วนร่วมของผู้อาศัยในพื้นที่ในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ จังหวัดชลบุรีในภาวะวิกฤต (3) เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ จังหวัดชลบุรีในภาวะวิกฤต (4) เพื่อหาแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ จังหวัดชลบุรีในภาวะวิกฤต กลุ่มตัวอย่างได้แก่ (1) ผู้ที่อาศัยในพื้นที่ 4 แห่ง จำนวน 400 คน (2) นักท่องเที่ยวที่เดินทางมาท่องเที่ยวในพื้นที่ จำนวน 400 คน ผู้ให้ข้อมูลสำคัญได้แก่ (1) ผู้อำนวยการ หรือเจ้าหน้าที่สนับสนุนงานท่องเที่ยวและกีฬา สำนักงานการท่องเที่ยวและกีฬา จังหวัดชลบุรี จำนวน 4 คน (2) ปลัดอำเภอ จำนวน 4 คน (3) ผู้ประกอบการธุรกิจโรงแรม รีสอร์ท ร้านอาหาร และร้านค้าขายของที่ระลึกที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ จำนวน 4 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน</p> <p>ผลการศึกษาพบว่า (1) ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เคยเดินทางมาท่องเที่ยว ณ สถานที่แห่งนี้ (ไม่รวมครั้งนี้) เดินทางมาท่องเที่ยว ณ สถานที่แห่งนี้ (ไม่รวมครั้งนี้) 2-3 ครั้ง ช่วงเดือนเมษายน-มิถุนายน ด้วยรถยนต์ส่วนตัว ใช้เวลาในการท่องเที่ยว 1 วัน/ครั้ง เดินทางมากับครอบครัว ส่วนใหญ่มีค่าอาหาร/เครื่องดื่ม สำหรับการท่องเที่ยวครั้งนี้โดยเฉลี่ย 401-600 บาท/คน/วัน ค่าที่พักสำหรับการท่องเที่ยวครั้งนี้โดยเฉลี่ย 401-600 บาท/คน/วัน และ 601-800 บาท/คน/วัน ส่วนใหญ่มีค่ายานพาหนสำหรับการท่องเที่ยวครั้งนี้โดยเฉลี่ย 401-600 บาท/คน ส่วนใหญ่มีค่าใช้จ่ายอื่น ๆ สำหรับการท่องเที่ยวครั้งนี้โดยเฉลี่ย 401-600 บาท/คน <strong>ในด้านของความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว ต่อการให้บริการแก่นักท่องเที่ยวของแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศ</strong> พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความพึงพอใจต่อการให้บริการแก่นักท่องเที่ยวของแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (2) ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่มีความต้องการการมีส่วนร่วมในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (3) การส่งเสริมการมีส่วนร่วมและเชื่อมโยงเครือข่ายด้านการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ในชุมชน ได้แก่ (3.1) ติดตามสถานการณ์อย่างใกล้ชิด (3.2) ประชาสัมพันธ์ให้กับนักท่องเที่ยวผ่านช่องทางสื่อโซเชียลมีเดีย (3.3) แจ้งแนวทางการสอบสวนควบคุมโรค และแนวทางการกักกัน โดยทำเป็นหนังสือ (3.4) ประชาสัมพันธ์สถานการณ์และแนวทางป้องกันผ่านสำนักงานสาธารณสุข (3.5) ร่วมมือและส่งเสริมการป้องกันการแพร่ระบาดกับโรงพยาบาลและศูนย์อนามัยในชุมชน (3.6) จัดตั้งศูนย์ควบคุมสถานการณ์โควิดเป็นศูนย์หลักของอำเภอ (3.7) กระจายข่าวสารผ่านผู้นำชุมชน (4) ผลการศึกษาแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ จังหวัดชลบุรีในภาวะวิกฤต ประกอบด้วย แนวทางที่ 1 การพัฒนาคุณลักษณะขององค์กรท่องเที่ยวเชิงนิเวศ จังหวัดชลบุรี แนวทางที่ 2 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในชุมชนด้านการติดตามประเมินผล แนวทางที่ 3 การให้ความช่วยเหลือผู้ประกอบการในพื้นที่ แนวทางที่ 4 การประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวผ่านช่องทางออนไลน์ และแนวทางที่ 5 การปรับปรุงระบบสาธารณูปโภค</p> อรจิรา เปลื้องรัตน์, สุณี หงษ์วิเศษ, ธนวัฒน์ พิมลจินดา Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274865 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 การพัฒนาความสามารถในการจำและความคงทนในการจำคำศัพท์ภาษาจีนโดยใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชันสำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281623 <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความสามารถในจำคำศัพท์ภาษาจีนของนักศึกษาระดับปริญญาตรี โดยใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชัน ก่อนเรียนกับหลังเรียน 2) ศึกษาความคงทนในจำคำศัพท์ภาษาจีนของนักศึกษาระดับปริญญาตรี โดยใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชัน 3) ศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาระดับปริญญาตรี ที่มีต่อการเรียนภาษาจีน โดยใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชัน กลุ่มตัวอย่างคือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1 เรียนวิชาโทภาษาจีน วิทยาลัยบริหารธุรกิจนวัตกรรมและการบัญชี มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 1 ห้อง จำนวน 25 คน เป็นกลุ่มตัวอย่างที่ได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม ด้วยวิธีการจับฉลาก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ 1) แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาจีน โดยใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชัน 2) แบบวัดความสามารถในการจำคำศัพท์ภาษาจีน 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการจัดการเรียนภาษาจีน โดยใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชัน การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติพื้นฐาน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติตรวจสอบสมมุติฐาน โดยใช้สถิติค่าทีผลการวิจัยพบว่า 1) การเปรียบเทียบคะแนนทดสอบความสามารถในการจำคำศัพท์ภาษาจีน โดยใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชัน ก่อนและหลังเรียน พบว่า มีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 2) การศึกษาความคงทนในการจำคำศัพท์ โดยใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชัน พบว่า คะแนนเฉลี่ยทดสอบครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 แตกต่างกันเพียงเล็กน้อย อยู่ที่ 0.48 จึงถือว่า เป็นไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว้ และ 3) ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการเรียนภาษาจีน โดยใช้การจัดการเรียนรู้ด้วยเกมมิฟิเคชัน โดยภาพรวม พบว่าอยู่ในระดับมาก</p> LU JIAYU, ไพทยา มีสัตย์ Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281623 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 การศึกษาสภาพและแนวทางในการสร้างทีมงานของหัวหน้างานวิชาการ ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 2 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274757 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพการสร้างทีมงานของหัวหน้างานวิชาการในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 2 2) เพื่อศึกษาแนวทางการสร้างทีมงานของหัวหน้างานวิชาการในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 2 โดยวิธีการดำเนินการวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ตอน ได้แก่ ตอนที่ 1 การศึกษาสภาพทีมงานของหัวหน้างานวิชาการในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 2 โดยใช้แบบสอบถามเกี่ยวกับสภาพการสร้างทีมงานของหัวหน้างานวิชาการในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 2 จำนวน 97 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ตอนที่ 2 ศึกษาแนวทางการสร้างทีมงานของหัวหน้างานวิชาการในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 2 ข้อมูลได้มาจากการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิเกี่ยวกับการสร้างทีมงาน จำนวน 3 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา</p> <p>ผลการวิจัย พบว่า</p> <ol> <li class="show">ผลการศึกษาสภาพการสร้างทีมงานของหัวหน้างานวิชาการในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 2 ทั้ง 5 ขั้นตอน ในภาพรวม พบว่า การศึกษาสภาพการสร้างทีมงานของหัวหน้างานวิชาการในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 2 ในภาพรวม อยู่ในระดับมาก ซึ่งด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ขั้นการปฏิบัติงานของทีมงาน อยู่ในระดับมาก รองลงมา คือ ขั้นการประเมินผลงานของทีมงาน อยู่ในระดับมาก และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ ขั้นการเก็บรวบรวมข้อมูลของทีมงานอยู่ในระดับมาก</li> <li class="show">ผลการศึกษาแนวทางการสร้างทีมงานของหัวหน้างานวิชาการในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 2 พบว่า หัวหน้าฝ่ายวิชาการควรมีการจัดประชุม ปรึกษาหารือ ระดมความคิดเห็น เพื่อให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับการจัดการศึกษาร่วมกำหนดเป้าหมายสถานศึกษา และควรส่งเสริมให้ครูมีการพัฒนาตนเอง เพื่อนำไปพัฒนา ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น สร้างขวัญและกำลังใจ เป็นผู้นำที่ดี และมีความยุติธรรมในการประเมินผลงานของทีมงาน เพื่อให้การปฏิบัติงานประสบผลสำเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้</li> </ol> พิมพ์มาดา วงค์ศิริธนดล, อ้อมธจิต แป้นศรี Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274757 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเป็นพลเมืองดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 1 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274722 <p> การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความเป็นพลเมืองดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา 2) เพื่อศึกษาระดับปัจจัยที่ส่งผลต่อความเป็นพลเมืองดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา 3) เพื่อพัฒนารูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อความเป็นพลเมืองดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา และ 4) เพื่อสร้างแนวทางการพัฒนาปัจจัยที่ส่งผลต่อความเป็นพลเมืองดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา การวิจัยแบ่งเป็น 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความเป็นพลเมืองดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 1 ปีการศึกษา 2566 ได้แก่ จังหวัดชัยภูมิ นครราชสีมา บุรีรัมย์ และสุรินทร์ จำนวน 421 คน โดยผู้วิจัยใช้การสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามประมาณค่า 5 ระดับ การวิเคราะห์ข้อมูล โดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์โมเดลความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงเส้นด้วยโปรแกรมลิสเรล ระยะที่ 2 ศึกษาแนวทางในการพัฒนาปัจจัยที่ส่งผลต่อความเป็นพลเมืองดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มเป้าหมาย คือ ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบความเหมาะสมของแนวทางการพัฒนา โดยจัดสนทนากลุ่ม จำนวน 7 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบประเมินความเหมาะสมของแนวทาง การวิเคราะห์ข้อมูล โดยการวิเคราะห์ระดับความเหมาะสมของแนวทางพัฒนา โดยการหาค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) ความเป็นพลเมืองดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก 2) ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเป็นพลเมืองดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก 3) รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่ส่งผลต่อความเป็นพลเมืองดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา พบว่าโมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ และตัวแปรในโมเดลสามารถอธิบายความแปรปรวนของความเป็นพลเมืองดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา ได้ร้อยละ 74 โดยปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อความเป็นพลเมืองดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษามากที่สุดคือ การใช้สื่อสังคมออนไลน์ รองลงมาได้แก่ การรับรู้ความสามารถในการใช้คอมพิวเตอร์ ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตและเจตคติต่อการใช้อินเทอร์เน็ต และ 4) แนวทางในการพัฒนาปัจจัยที่ส่งผลต่อความเป็นพลเมืองดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา ประกอบด้วย สาระการพัฒนา วัตถุประสงค์ แนวทางการพัฒนา และตัวชี้วัด โดยมีวิธีการพัฒนาเป็น 2 ส่วน ได้แก่ พัฒนาโดยผู้บริหารสถานศึกษา และพัฒนาโดยสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ผลการประเมินแนวทางในการพัฒนา พบว่ามีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด</p> ศิริรัตน์ อุปถัมภ์เกื้อกูล, สมบูรณ์ ตันยะ, สงวนพงศ์ ชวนชม Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274722 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 การพัฒนารูปแบบการฝึกอบรมก่อนการปฏิบัติงานของพนักงานฝ่ายผลิตในโรงงานอุตสาหกรรมการผลิตกระจกแห่งหนึ่ง https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274674 <p>การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบการฝึกอบรมก่อนการปฏิบัติงานของพนักงานฝ่ายผลิตในโรงงานอุตสาหกรรมการผลิตกระจกแห่งหนึ่ง 2) หาประสิทธิภาพจากการใช้รูปแบบการฝึกอบรมก่อนการปฏิบัติงานของพนักงานฝ่ายผลิตในโรงงานอุตสาหกรรมการผลิตกระจกแห่งหนึ่ง 3) ศึกษาความพึงพอใจต่อการฝึกอบรมก่อนการปฏิบัติงานของพนักงานฝ่ายผลิตในโรงงานอุตสาหกรรมการผลิตกระจกแห่งหนึ่ง รูปแบบที่ใช้ในการพัฒนา คือ R2D2 Model มี 4 ขั้นตอน ได้แก่ การวิเคราะห์ การออกแบบ การพัฒนา การนำไปใช้ และการประเมินผล</p> <p>กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ แบ่งออกเป็น 5 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มที่ 1 ผู้ให้ข้อมูลในขั้นตอนการศึกษาข้อมูลพื้นฐาน (Research) การวิเคราะห์ ข้อมูล (Analysis) ได้แก่ ผู้จัดการฝ่ายผลิตจำนวน 5 คน ผู้จัดการฝ่ายพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ จำนวน 2 คน และพนักงานผู้มีประสบการณ์ทำงาน 5 ปี ขึ้นไปในสายการผลิตกระจกจำนวน 3 คน โดยการสนทนากลุ่ม (Focus Group) จำนวน 10 คน &nbsp;กลุ่มที่ 2 เป็นกลุ่มในขั้นตอนออกแบบและพัฒนา (Design and Development) นำรูปแบบการฝึกอบรมก่อนปฏิบัติงานฯไปทดลองใช้กับกลุ่มทดลองขนาดเล็ก (Small Group Testing) กับพนักงานฝ่ายผลิต 3 คน ซึ่งเป็นพนักงานที่มีอายุงาน 0-1 ปี กลุ่มที่ 3</p> <p>เป็นกลุ่มทดลองซึ่งเป็นกลุ่มนำร่องกับพนักงานฝ่ายผลิตจำนวน 10 คน ซึ่งเป็นพนักงานที่มีอายุงาน 0-1 ปี โดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง</p> <p>กลุ่มที่ 4&nbsp; เป็นกลุ่มทดลองซึ่งเป็นกลุ่มนำร่องภาคสนาม (Try-out) กับพนักงานฝ่ายผลิตจำนวน 30 คน&nbsp; ซึ่งเป็นพนักงานที่มีอายุงาน 0-1 ปี กลุ่มที่ 5 เป็นกลุ่มตัวอย่างจริง ซึ่งเป็นพนักงานใหม่ฝ่ายผลิต จำนวน 30 คน เป็นวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive sampling) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน</p> <p>ผลการวิจัยพบว่า 1) การพัฒนารูปแบบการฝึกอบรมก่อนการปฏิบัติงานของพนักงานฝ่ายผลิตในโรงงานอุตสาหกรรมการผลิตกระจกแห่งหนึ่ง พบว่า รูปแบบการฝึกอบรมควรมี 6 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 หลักการทักษะ (Skill) ความรู้ (Knowledge) ความเข้าใจ (Understanding) ในกระบวนการผลิตและความปลอดภัยในการทำงาน&nbsp; ส่วนที่ 2 จุดมุ่งหมายพนักงานฝ่ายผลิตมีทักษะ (Skill) &nbsp;ความรู้ (Knowledge) ความเข้าใจ (Understanding) ในกระบวนการผลิตและความปลอดภัยในการทำงาน ส่วนที่ 3 เนื้อหาเกี่ยวกับกระบวนการผลิตกระจกพื้นฐาน คำศัพย์ที่ใช้ในการทำงาน นิกเกิลซัลไฟด์ และ ความปลอดภัยในการทำงาน ส่วนที่ 4 วิธีการฝีกอบรม การบรรยายประกอบการซักถาม การสาธิต การฝึกปฏิบัติในการจำลองสถานณ์การ ส่วนที่ 5 การดำเนินการจัดการฝึกอบรม</p> <p>ก่อนการฝึกอบรม ระหว่างการฝึกอบรม และหลังการฝึกอบรม ส่วนที่ 6 การวัดผลประเมินผล วัดผลสัมฤทธิ์การฝึกอบรม วัดความพึงพอใจต่อการฝึกอบรม และ ติดตามจากแบบสังเกตพฤติกรรม 2) การประเมินประสิทธิภาพของรูปแบบการฝึกอบรมก่อนการปฏิบัติงานของพนักงานฝ่ายผลิตในโรงงานอุตสาหกรรมการผลิตกระจกแห่งหนึ่ง โดยผู้เชี่ยวชาญ พบว่า รูปแบบการฝึกอบรมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด 4) ผู้เข้ารับการฝึกอบรมมีผลสัมฤทธิ์ในการทำทดสอบหลังการฝึกอบรมสูงกว่าก่อนการฝึกอบรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งเป็นไปตามสมมุติฐานที่ 1 3) ความพึงพอใจของผู้เข้ารับการฝึกอบรมในหลักสูตรก่อนการเริ่มปฏิบัติงานของพนักงานฝ่ายผลิต พบว่า ความพึงพอใจต่อสื่อที่ใช้ในการฝึกอบรม มีค่าเฉลี่ยสูงสุด (ค่าเฉลี่ย = 4.85, SD = 0.43)&nbsp; รองลงมา คือ ความพึงพอใจต่อสถานที่ (ค่าเฉลี่ย = 4.80, SD = 0.46) และ ความพึงพอใจต่อแบบทดสอบ&nbsp;(ค่าเฉลี่ย = 4.65, SD = 0.58) โดยมีค่าเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ตามลำดับ เป็นไปตามสมมุติฐานที่ 2 จากการประเมินจึงสรุปได้ว่า รูปแบบการฝึกอบรมที่พัฒนาขึ้นสามารถนำไปใช้ในการฝึกอบรมพนักงานใหม่ฝ่ายผลิตในโรงงานอุตสาหกรรมการผลิตกระจกแห่งหนึ่งก่อนการเริ่มปฏิบัติงานเป็นการเพิ่มทักษะ (Skill) ความรู้ (Knowledge) ความเข้าใจ (Understanding) ในกระบวนการผลิตและความปลอดภัยในการทำงานก่อนการเริ่มปฏิบัติงาน</p> อรวี อินทร์แป้น, ระพิน ชูชื่น, ปรัชนันท์ เจริญอาภรณ์วัฒนา Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274674 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 ภูมิศาสตร์ดิจิทัล: การส่งเสริมการรู้เรื่องภูมิศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานร่วมกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281624 <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ส่งเสริมการรู้เรื่องภูมิศาสตร์โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน (PhenoBL) ร่วมกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โดยนักเรียนร้อยละ 70 ของนักเรียนทั้งหมด มีคะแนนการรู้เรื่องภูมิศาสตร์ร้อยละ 70 ขึ้นไป และ 2) ศึกษาระดับความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐาน (PhenoBL) ร่วมกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/11 โรงเรียนนครขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 30 คน ใช้รูปแบบวิจัยเชิงปฏิบัติการ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 9 แผน เวลา 18 ชั่วโมง 2) เครื่องมือที่ใช้ในการสะท้อนผลการปฏิบัติ ได้แก่ แบบบันทึกผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แบบสังเกตพฤติกรรมในการจัดการเรียนรู้ แบบบันทึกสะท้อนผลการสังเกตชั้นเรียน แบบสัมภาษณ์นักเรียนและแบบวัดการรู้เรื่องภูมิศาสตร์ (Geo-literacy) ท้ายวงจร และ 3) เครื่องมือในการประเมินผลการวิจัย ได้แก่ แบบวัดการรู้เรื่องภูมิศาสตร์ (Geo-literacy) และแบบประเมินความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ฯ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า 1) ผลคะแนนการรู้เรื่องภูมิศาสตร์ มีคะแนนเฉลี่ย 27 คะแนน จากคะแนนเต็ม 36 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 75.00 มีนักเรียนที่ผ่านเกณฑ์ 18 คน คิดเป็นร้อยละ 60.00 และเมื่อพิจารณาผลการปฏิบัติตามลักษณะของการวิจัยเชิงปฏิบัติการ (Action Research) จำนวน 3 วงจรปฏิบัติการ พบว่า ในแต่ละวงจร นักเรียนมีคะแนนการรู้เรื่องภูมิศาสตร์สูงขึ้น และจำนวนนักเรียนที่ผ่านเกณฑ์มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น 2) ผลการศึกษาความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.69 เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านที่นักเรียนมีความพึงพอใจสูงที่สุด คือ ด้านสื่อการเรียนรู้ รองลงมา คือ ด้านประโยชน์ที่ได้รับ และด้านกิจกรรมการเรียนรู้ และด้านที่นักเรียนมีความพึงพอใจต่ำที่สุด คือ ด้านขั้นตอนการจัดการเรียนรู้</p> สุทธิพงษ์ มีจันดี, ณัฐพล มีแก้ว Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281624 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 แนวทางการพัฒนาทักษะวิศวกรสังคมของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มภาคเหนือ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274900 <p>การศึกษาครั้งนี้มีความมุ่งหมายของการวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษาทักษะวิศวกรสังคมของนักศึกษา<br>มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มภาคเหนือ และ 2) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาทักษะวิศวกรสังคมของ<br>นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มภาคเหนือ การศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยใช้วิธีการศึกษาแบบผสมผสานทั้งวิธีวิจัยเชิงปริมาณ<br>และวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามที่มุ่งศึกษาเกี่ยวกับทักษะวิศวกรสังคมของ<br>นักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มภาคเหนือทั้ง 4 ทักษะ คือ ทักษะการคิด ทักษะการสื่อสาร ทักษะการประสานงาน <br>และทักษะการสร้างนวัตกรรม โดยนำแบบสอบถามที่ปรับปรุงแก้ไขสมบูรณ์ไปทดลองเก็บ (Tryout) กับนักศึกษา <br>ที่เป็นกลุ่มใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 30 คน เพื่อหาคุณภาพเครื่องมือโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอ<br>นบาค (Cronbach’s Alpha) ได้ค่าความเที่ยงหรือความเชื่อถือของแบบสอบถามมากกว่า 0.966 ซึ่งถือว่า<br>แบบสอบถามนี้มีความเชื่อถือได้สามารถนำไปเก็บข้อมูลได้จริง โดยเก็บข้อมูลกับกลุ่มนักศึกษาชั้นปีที่ 2 ภาคปกติ <br>ปีการศึกษา 2566 มหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มภาคเหนือ 8 แห่ง จำนวน 400 คน และแบบสัมภาษณ์ (แบบกึ่ง<br>โครงสร้าง) ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการสนับสนุนและขับเคลื่อนการพัฒนาทักษะวิศวกรสังคมของนักศึกษามหาวิทยาลัย<br>ราชภัฏกลุ่มภาคเหนือ 8 แห่ง ที่ผ่านการอบรมทักษะวิศวกรสังคม จำนวน 16 คน สถิติที่ใช้ในวิจัย ได้แก่ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาตามความมุ่งหมายของการวิจัย ข้อที่ 1 พบว่านักศึกษามี<br>ทักษะวิศวกรสังคมอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.74) มีความเชี่ยวชาญในการคิดวิเคราะห์และแยกแยะ<br>ข้อเท็จจริงอย่างมีเหตุผล สามารถสื่อสารและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ดี นอกจากนี้ยังมีภาวะผู้นำและสามารถสร้างสรรค์<br>นวัตกรรมในการพัฒนาชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ และผลการศึกษาตามความมุ่งหมายของการวิจัย ข้อที่ 2 พบว่า <br>อาจารย์ผู้สอนควรเน้นกลไกการออกแบบกิจกรรมการฝึกอบรมและการจัดการเรียนการสอนเพื่อให้เกิดทักษะ Soft <br>Skills ในรูปแบบต่างๆ ผ่านเครื่องมือสำคัญของวิศวกรสังคม รวมถึงเครื่องมือเสริมทักษะอื่นๆ เพื่อสนับสนุนการคิด<br>สร้างสรรค์ การแก้ปัญหาการสื่อสาร การประสานงานและทำงานร่วมกัน ทั้งนี้ กิจกรรมดังกล่าวต้องมีกลไกการทำงาน<br>ที่ชัดเจนและมีประสิทธิภาพ มีการวางแผนงานร่วมกันทั้งคณาจารย์ บุคลากรที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อให้กลไกการทำงาน<br>มีความต่อเนื่องตั้งแต่นักศึกษาเริ่มเข้าศึกษาจนกระทั่งจบการศึกษาและออกสู่ตลาดแรงงาน</p> กฤษณะ คำดีตัน, จักรกฤษณ์ โปณะทอง Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274900 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 การวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเครียดในการทำงานและแนวทางการจัดการความเครียดของบุคลากรทางการแพทย์โรงพยาบาลแห่งหนึ่งในจังหวัดชลบุรี https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281625 <p>การวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยใช้การวิจัยแบบผสมผสานเชิงอธิบาย (Explanatory mixed methods research) โดยมีวัตถุประสงค์ในการวิจัยดังนี้ 1.เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความเครียดในการทำงานของบุคลากรทางการแพทย์โรงพยาบาลแห่งหนึ่งในจังหวัดชลบุรี และ 2.เพื่อศึกษาแนวทางการจัดการความเครียดในการทำงานของบุคลากรทางการแพทย์โรงพยาบาลแห่งหนึ่งในจังหวัดชลบุรี ผลการศึกษาพบว่า การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความเครียดจากการทำงานของบุคลากรทางการแพทย์โรงพยาบาลแห่งหนึ่งในจังหวัดชลบุรี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ บุคลากรทางการแพทย์ระดับปฏิบัติการของโรงพยาบาลแห่งหนึ่งในจังหวัดชลบุรี จำนวน 337 คน ทำการวิเคราะห์ปัจจัยเชิงสำรวจ (Exploratory Factor Analysis) ซึ่งมีปัจจัยความเครียด 6 ปัจจัย คือ 1. สังคมของการทำงาน 2. ความสัมพันธ์ต่อตนเองและบุคคลอื่น 3. แรงจูงใจและค่าตอบแทน 4. การบริหารงานขององค์กร 5. คุณภาพชีวิตของการทำงาน และ 6. วัฒนธรรมการทำงาน การศึกษาแนวทางการจัดการความเครียดในการทำงานของบุคลากรทางการแพทย์โรงพยาบาลแห่งหนึ่งในจังหวัดชลบุรี ผู้ให้ข้อมูล คือ บุคลากรทางการแพทย์ระดับปฏิบัติการของโรงพยาบาลแห่งหนึ่งในจังหวัดชลบุรี จำนวน 10 คน ทำการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) ซึ่งมีแนวทางการจัดการความเครียดดังนี้ 1. การจัดการความเครียดด้วยตนเอง ซึ่งประกอบด้วย แนวทางการจัดการความเครียดแบบยั่งยืน เช่น การฝึกสมาธิ และแนวทางการจัดการความเครียดแบบทั่วไป เช่น ดูหนัง เป็นต้น 2. การจัดการความเครียดโดยการคาดหวังจากองค์กร ประกอบด้วย แนวทางการจัดการความเครียดเชิงระบบ เช่น นโยบายด้านการบริหาร และแนวทางการจัดการความเครียดรายบุคคล เช่น ให้สิทธิ์หยุด ให้กำลังใจ เป็นต้น</p> นัฐวรรณ บุญนารัตน์, ระพิน ชูชื่น, ปรัชนันท์ เจริญอาภรณ์วัฒนา Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281625 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ โดยการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274906 <p>การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความคิดสร้างสรรค์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง&nbsp; &nbsp; โดยการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานกับเกณฑ์ร้อยละ 80 และ 2) เปรียบเทียบเจตคติที่มีต่อรายวิชาวิทยาศาสตร์&nbsp; ก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง โดยการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง จำนวน 6 ห้องเรียน จำนวนนักเรียน 120 คน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น&nbsp; ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง 1 ห้องเรียน จำนวน 20 คน โดยใช้วิธีการสุ่ม แบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์&nbsp; ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โดยการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานฐาน จำนวน 18 ชั่วโมง แบบประเมิน การคิดสร้างสรรค์ และแบบวัดเจตคติ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่า t – test</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยพบว่า</p> <ol> <li class="show">นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานมีความคิดสร้างสรรค์ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01</li> <li class="show">นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ศูนย์ส่งเสริมการเรียนรู้อำเภอนาโยง จังหวัดตรัง มีเจตคติต่อรายวิชาวิทยาศาสตร์หลังได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนรู้โครงงาน เป็นฐานสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01</li> </ol> สัตตบุษย์ จรทอง, ชุติมา ทัศโร, เก็ตถวา บุญปราการ Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274906 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 การวิจัยปฏิบัติการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การอ่านเชิงวิเคราะห์ โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน เสริมด้วยแบบฝึกทักษะ ต่อความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274804 <p>การวิจัยปฏิบัติการครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) พัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การอ่านเชิงวิเคราะห์ โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน เสริมด้วยแบบฝึกทักษะ (2) ศึกษาความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ ที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน เสริมด้วยแบบฝึกทักษะ ระหว่างก่อนเรียนกับหลังเรียน (3) ศึกษาและเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย เรื่อง การอ่านเชิงวิเคราะห์ โดยการใช้กระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน เสริมด้วยแบบฝึกทักษะ เรื่อง การอ่านเชิงวิเคราะห์ กลุ่มเป้าหมายได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 13 คน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนยางโกนวิทย์ อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน เสริมด้วยแบบฝึกทักษะ จำนวน 9 แผน แบบฝึกทักษะ แบบสังเกตการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครู แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ของนักเรียน แบบสัมภาษณ์นักเรียน แบบทดสอบท้ายวงจรปฏิบัติการ แบบบทดสอบการอ่านเชิงวิเคราะห์ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย เรื่อง การอ่านเชิงวิเคราะห์ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยปฏิบัติการ แบ่งเป็น 3 วงจรปฏิบัติการ ซึ่งมีการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณและข้อมูลเชิงคุณภาพ เมื่อดำเนินการครบทุกวงจรปฏิบัติการแล้ว ผู้วิจัยได้ทดสอบท้ายการปฏิบัติการวิจัยอีกครั้ง ผลการวิจัยพบว่า 1. การพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การอ่านเชิงวิเคราะห์ โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน เสริมด้วยแบบฝึกทักษะ มีขั้นตอนดังนี้ (1) ขั้นตั้งคำถาม (2) ขั้นแสวงหาสารสนเทศ (3) ขั้นสร้างองค์ความรู้ (4) ขั้นการสื่อสาร และ (5) ขั้นตอบแทนสังคม 2. นักเรียนที่เรียนด้วยการจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน เสริมด้วยแบบฝึกทักษะ มีความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ โดยมีคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนเท่ากับ 4.62 คิดเป็นร้อยละ 46.20 และคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนเท่ากับ 9.69 คิดเป็นร้อยละ 96.90 แสดงว่านักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 และมีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน 3. นักเรียนที่เรียนด้วยการจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ 5 ขั้นตอน เสริมด้วยแบบฝึกทักษะ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย โดยมีคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนเท่ากับ 7 คิดเป็นร้อยละ 23.33 และคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนเท่ากับ 25.38 คิดเป็นร้อยละ 84.60 แสดงว่านักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 และมีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน</p> <p> </p> ฐิติกาล ปรุใหม่, สมชาย วรกิจเกษมสกุล Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274804 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 การพัฒนาทักษะการฟังและการพูดจากการจัดกิจกรรม โดยใช้ปริศนาคำทายภาษาถิ่นตรังประกอบการเล่าเรื่องของเด็กปฐมวัย https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274963 <p>การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบทักษะการฟังของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้ปริศนาคำทายภาษาถิ่นตรังประกอบการเล่าเรื่องและ 2) เปรียบเทียบทักษะการพูดของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2 หลังการจัดกิจกรรมโดยใช้ปริศนาคำทายภาษาถิ่นตรังประกอบการเล่าเรื่องกับเกณฑ์ร้อยละ 75 ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2 โรงเรียนปิยบุตรศึกษากร จำนวน 5 ห้องเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2 โรงเรียนปิยบุตรศึกษากร 1 ห้องเรียน จำนวน 18 คน โดยใช้วิธีการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ปริศนาคำทายภาษาถิ่นตรังประกอบการเล่าเรื่องแผนการจัดกิจกรรม แบบประเมินความรู้ ตอบคำถามประกอบภาพและแบบวัดทักษะการพูด สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่า t – test ผลการวิจัยพบว่า 1) นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2 เมื่อเรียนโดยใช้การจัดกิจกรรม การเรียนรู้ โดยใช้ปริศนาคำทายภาษาถิ่นตรังประกอบการเล่าเรื่อง มีทักษะการฟังหลังจัดกิจกรรมสูงกว่าก่อนจัดกิจกรรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ 2) นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2 เมื่อเรียนโดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้ปริศนาคำทายภาษาถิ่นตรังประกอบการเล่าเรื่อง มีทักษะการพูดสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 75 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .01</p> ศิราวรรณ สร้อยสนธิ์, ชุติมา ทัศโร, เก็ตถวา บุญปราการ Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274963 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 การพัฒนาสมรรถภาพทางกายด้านความยืดหยุ่นด้วยโปรแกรมฝึกยืดเหยียดกล้ามเนื้อร่วมกับหลักการสอนแบบ 3R สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางด้านสติปัญญาระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274965 <p>การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาสมรรถภาพทางกายด้านความยืดหยุ่นด้วยโปรแกรมฝึกยืดเหยียดกล้ามเนื้อร่วมกับหลักการสอนแบบ 3R สำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางด้านสติปัญญา ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัย คือนักเรียนที่มีบกพร่องทางสติปัญญาชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสงขลาพัฒนาปัญญา จำนวน 4 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจงโดยมีเกณฑ์การคัดเข้า คือ 1) ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์หรือผู้เชี่ยวชาญว่าเป็นนักเรียนบกพร่องทางสติปัญญา 2) นักเรียนสามารถฟังคำสั่งง่ายๆ เข้าใจ สามารถปฏิบัติตามได้ 3) ผู้ปกครองยินดีในการเข้าร่วมการวิจัย 4) นักเรียนสามารถมาเข้าร่วมการวิจัยอย่างต่อเนื่องตามกำหนด 5) นักเรียนมีบัตรคนพิการที่รับรองว่าเป็นบุคคลที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา 6) เป็นนักเรียนที่มีผลการทดสอบความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อไม่ผ่านเกณฑ์ โดยระยะเวลาในการดำเนินการทดลองอยู่ในช่วงเดือนมีนาคม – เมษายน 2567 ซึ่งจะทำการทดลอง 4 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 3 วัน วันละ 30 นาที เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) โปรแกรมฝึกสมรรถภาพทางกายด้วยการยืดเหยียดกล้ามเนื้อร่วมกับหลักการสอนแบบ 3R ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น 2) แผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคลรายวิชาสุขศึกษาและพลศึกษาโดยใช้โปรแกรมฝึกยืดเหยียดกล้ามเนื้อร่วมกับหลักการสอนแบบ 3R 3) แบบทดสอบสมรรถภาพทางกายการทดสอบนั่งงอตัว (Sit and Reach Test)&nbsp; สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว แบบวัดซ้ำ (One way repeated measure ANOVA)</p> <p>ผลการวิจัยพบว่า นักเรียนที่มีความบกพร่องทางด้านสติปัญญา ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ทั้ง 4 คนที่เป็นกลุ่มเป้าหมายมีการพัฒนาของสมรรถภาพทางกายด้านความยืดหยุ่นหลังการฝึกด้วยโปรแกรมฝึกยืดเหยียดกล้ามเนื้อร่วมกับหลักการสอนแบบ 3R ที่ดีขึ้น</p> พุธิตา อินทร์ดำ, ประภาศ ปานเจี้ยง Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274965 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 การพัฒนาความสามารถการอ่าน การเขียนสะกดคำภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยการจัดการเรียนรู้ ตามรูปแบบของฮันเตอร์ร่วมกับแบบฝึกทักษะ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275068 <p> การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถการอ่าน การเขียนสะกดคำภาษาไทยก่อนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยการจัดการเรียนรู้รูปแบบของฮันเตอร์ร่วมกับแบบฝึกทักษะ 2) เพื่อเปรียบเทียบผลการพัฒนาความสามารถการอ่าน การเขียนสะกดคำภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หลังเรียน โดยการจัดการเรียนรู้รูปแบบของฮันเตอร์ร่วมกับแบบฝึกทักษะกับเกณฑ์ร้อยละ 70 3) เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจของนักเรียนที่ได้รับการพัฒนาทักษะการอ่าน การเขียนสะกดคำภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยการจัดการเรียนรู้รูปแบบของฮันเตอร์ร่วมกับแบบฝึกทักษะ หลังใช้แบบฝึกทักษะการอ่าน การเขียนสะกดคำภาษาไทย ผลการศึกษาพบว่า 1) ผลการเปรียบเทียบการพัฒนาความสามารถการอ่าน การเขียนสะกดคำภาษาไทยก่อนเรียนและหลังเรียน เรื่อง ประชาธิปไตยและเรื่อง ธนูดอกไม้กับเจ้าชายน้อย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยการจัดการเรียนรู้รูปแบบของฮันเตอร์ร่วมกับแบบฝึกทักษะ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ผลการเปรียบเทียบการพัฒนาความสามารถการอ่าน การเขียนสะกดคำภาษาไทยของนักเรียนขั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยการจัดการเรียนรู้รูปแบบของฮันเตอร์ร่วมกับแบบฝึกทักษะ หลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 และ 3) ผลการศึกษาความพึงพอใจต่อการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้รูปแบบของฮันเตอร์ร่วมกับแบบฝึกทักษะ โดยภาพรวม พบว่า นักเรียนมีความความพึงพอใจต่อจัดการเรียนรู้รูปแบบของฮันเตอร์ร่วมกับแบบฝึกทักษะ อยู่ในระดับมาก (x̅= 4.36, S.D. = 0.68) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า มีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก 3 ด้าน ดังนี้ ด้านบรรยากาศการจัดการเรียนรู้ (x̅= 4.27, 5.D.= 0.78) ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (x̅= 4.4, S.D. = 0.63) และด้านประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (x̅=4.35, S.D.= 0.62) ตามลำดับ</p> ณัฐญา เมืองสุข, ศิริพร พึ่งเพ็ชร์ Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275068 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 การสร้างสมดุลระหว่างความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ และการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนผ่านแนวทางฐานสิทธิมนุษยชน https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281634 <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ในโลกปัจจุบันที่เชื่อมต่อถึงกัน ความก้าวหน้าอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีได้นำมาซึ่งทั้งโอกาส และความท้าทาย เมื่อการพึ่งพาโครงสร้างพื้นฐานดิจิทัลเติบโตขึ้น ความต้องการมาตรการรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์ที่แข็งแกร่งก็เพิ่มขึ้นเช่นกัน เพื่อปกป้องข้อมูลที่ละเอียดอ่อน และระบบที่สำคัญ อย่างไรก็ตาม ในขณะที่รัฐบาลและองค์กรต่างๆ เข้มงวดกับการรักษาความปลอดภัยทางไซเบอร์ มีความกังวลเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิมนุษยชนที่อาจเกิดขึ้นได้ บทความนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อสำรวจความสัมพันธ์ที่ซับซ้อน และกำลังพัฒนาระหว่างกฎหมายความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์กับสิทธิมนุษยชน และความสำคัญของการสร้างสมดุลที่ละเอียดอ่อนระหว่างมิติทั้งสอง ผ่านการศึกษากฎหมายภายในของประเทศต่างๆ และแนวทางในระดับระหว่างประเทศที่น่าสนใจ รวมถึงข้อเสนอแนะที่จะนำแนวทางฐานสิทธิมนุษยชนมาเป็นกรอบในการจัดทำกฎหมาย นโยบายหรือมาตรการต่างๆ ด้านความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์</p> อมรรัตน์ อินนุมาตร Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281634 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 การสร้างหนังสือเสริมประสบการณ์พัฒนาผลสัมฤทธิ์การเขียนสะกดคำเรื่อง สระในภาษาไทยสาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281635 <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้เกี่ยวกับผลสัมฤทธิ์การเขียนสะกดคำ เรื่อง สระในภาษาไทยสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1<br>2) สร้างหนังสือเสริมประสบการณ์พัฒนาผลสัมฤทธิ์การเขียนสะกดคำ เรื่อง สระในภาษาไทย ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 3) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน และหลังเรียนโดยใช้หนังสือเสริมประสบการณ์พัฒนาผลสัมฤทธิ์การเขียนสะกดคำ เรื่องสระในภาษาไทย 4) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการใช้หนังสือเสริมประสบการณ์พัฒนาผลสัมฤทธิ์การเขียนสะกดคำ เรื่อง สระในภาษาไทย ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนมูลนิธิมหาราช 5 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 27 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบสัมภาษณ์ครูสอนภาษาไทยระดับประถมศึกษา 2) แผนการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาไทย 3) แบบประเมินความเหมาะสมของแผนการจัดการเรียนรู้ 4) แบบประเมินความเหมาะสมของหนังสือเสริมประสบการณ์เรียนรู้ 5) หนังสือเสริมประสบการณ์พัฒนาผลสัมฤทธิ์การเขียนสะกดคำ เรื่อง สระในภาษาไทย 6) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อน–หลังเรียน และ 7) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการใช้หนังสือเสริมประสบการณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) มีนักเรียนที่อ่าน และเขียนสะกดคำไม่ได้นักเรียนมาจากต่างพื้นที่ และเป็นชนชาติพันธุ์จึงทำให้เกิดปัญหาในการจัดการเรียนรู้ 2) ได้หนังสือเสริมประสบการณ์พัฒนาผลสัมฤทธิ์การเขียนสะกดคำ เรื่อง สระในภาษาไทยที่มีประสิทธิภาพ 84.25/86.03 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ 3) นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน และหลังเรียนโดยใช้หนังสือเสริมประสบการณ์พัฒนาผลสัมฤทธิ์การเขียนสะกดคำ เรื่อง สระในภาษาไทยสำหรับ คะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนเท่ากับ 21.51 คิดเป็นร้อยละ 71.70 และคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนเท่ากับ 25.81 คิดเป็นร้อยละ 86.03 มีคะแนนความก้าวหน้าร้อยละ 14.30 4) นักเรียนมีความคิดเห็นต่อการใช้หนังสือเสริมประสบการณ์พัฒนาผลสัมฤทธิ์การเขียนสะกดคำ เรื่อง สระในภาษาไทยอยู่ในระดับมากที่สุด (= 2.83 , S.D. = 0.13) ดังนั้นการจัดการเรียนรู้โดยใช้หนังสือเสริมประสบการณ์พัฒนาผลสัมฤทธิ์การเขียนสะกดคำที่สร้างส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเขียนสะกดคำสูงขึ้น</p> ภูริตา สมาธิฤาทัย, สนิท สัตโยภาส, ศศิธร อินตุ่น Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281635 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 การพัฒนาชุดกิจกรรมฝึกกิจวัตรประจำวันเพื่อส่งเสริมการทำงานประสานสัมพันธ์ระหว่างตากับมือของเด็กดาวน์ซินโดรม https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281636 <p>การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาชุดกิจกรรมฝึกกิจวัตรประจำวันเพื่อส่งเสริมการทำงานประสานสัมพันธ์ระหว่างตากับมือของเด็กดาวน์ซินโดรม และเพื่อเปรียบเทียบผลการใช้ชุดกิจกรรมฝึกกิจวัตรประจำวันเพื่อส่งเสริมการทำงานประสานสัมพันธ์ระหว่างตากับมือของเด็กดาวน์ซินโดรมก่อนและหลังการใช้ชุดกิจกรรมฝึกกิจวัตรประจำวันเพื่อส่งเสริมการทำงานประสานสัมพันธ์ระหว่างตากับมือของเด็กดาวน์ซินโดรม กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการศึกษา เด็กดาวน์ซินโดรม อายุระหว่าง 3–6 ปี จำนวน 10 คน ที่มารับบริการที่ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 11 จังหวัดนครราชสีมา ผลการวิจัยพบว่า 1) การพัฒนาชุดกิจกรรมฝึกกิจวัตรประจำวันเพื่อส่งเสริมการทำงานประสานสัมพันธ์ระหว่างตากับมือของเด็กดาวน์ซินโดรมสูงขึ้นทุกคน &nbsp;2) การเปรียบเทียบการใช้ชุดกิจกรรมก่อนและหลังการพัฒนาชุดกิจวัตรประจำวัน เพื่อส่งเสริมการทำงานประสานสัมพันธ์ระหว่างตากับมือของเด็กดาวน์ซินโดรม โดยค่าเฉลี่ยก่อนการพัฒนาทั้งสิบคนเท่ากับ 1.52 ค่าเฉลี่ยหลังการพัฒนาทั้งสิบคนเท่ากับ 69.74</p> วิภาพรรณ แก้วยงกฎ, ชนิตา พิมพ์ศรี, ปิยะวรรณ ศรีสุรักษ์ Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281636 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 คุณภาพการให้บริการที่ส่งผลต่อกระบวนการตัดสินใจของนักท่องเที่ยว ในการเลือกใช้บริการโฮมสเตย์ ตำบลเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274993 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับการรับรู้คุณภาพการให้บริการของธุรกิจโฮมสเตย์ ตำบลเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา และ 2) ศึกษาคุณภาพการให้บริการ ที่ส่งผลต่อกระบวนการตัดสินใจเลือกใช้บริการโฮมสเตย์ ตำบลเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากนักท่องเที่ยวที่มาใช้บริการโฮมสเตย์ ตำบลเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา จำนวน 400 คน และใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า คุณภาพการให้บริการโฮมสเตย์ โดยภาพรวมและรายด้าน อยู่ในระดับมากที่สุด และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า การให้ความเชื่อมั่นต่อลูกค้ามีระดับคุณภาพการให้บริการมากที่สุด รองลงมาคือ การตอบสนองต่อลูกค้า การรู้จักและเข้าใจลูกค้า ความเชื่อถือไว้วางใจได้ และความเป็นรูปธรรมของบริการ นอกจากนี้คุณภาพการให้บริการด้านความเป็นรูปธรรมของบริการ ด้านความเชื่อถือไว้วางใจได้ ด้านการตอบสนองต่อลูกค้า ด้านการให้ความเชื่อมั่นต่อลูกค้า ด้านการรู้จักและเข้าใจลูกค้า ส่งผลต่อกระบวนการตัดสินใจเลือกใช้บริการโฮมสเตย์ ตำบลเกาะยอ อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณ เท่ากับ 0.856 และอำนาจในการพยากรณ์ร้อยละ 72.90 ในขณะที่คุณภาพการให้บริการด้านความเป็น รูปธรรมของบริการมีอิทธิพลต่อกระบวนการตัดสินใจเลือกใช้บริการโฮมสเตย์มากที่สุด รองลงมาคือ การให้ความเชื่อมั่นต่อลูกค้า การตอบสนองต่อลูกค้า ความเชื่อถือไว้วางใจได้ การรู้จักและเข้าใจลูกค้า</p> ภัชฎาพร พรหมเมศร์, สิริลักษณ์ ทองพูน Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274993 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 การประเมินโครงการอาหารกลางวัน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 โดยใช้รูปแบบซีโป (CPO’S Evaluation Model) https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275008 <p> การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินโครงการอาหารกลางวัน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 โดยใช้รูปแบบซีโป (CPO’ S Evaluation Model) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้บริหารโรงเรียน และครูในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 จำนวน 313 คน โดยใช้การสุ่มแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมาตรส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.98 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า การประเมินโครงการอาหารกลางวัน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 โดยใช้รูปแบบซีโป (CPO’ S Evaluation Model) โดยรวมอยู่ในระดับมาก 1) ด้านกระบวนการปฏิบัติระหว่างการดำเนินโครงการ อยู่ในระดับมากที่สุด 2) ด้านผลผลิตของโครงการ อยู่ในระดับมากที่สุด 3) ด้านปัจจัยพื้นฐานด้านสภาวะแวดล้อมของโครงการ อยู่ในระดับมาก</p> ฐิตนิภา เหล็กกล้า, พัชรินทร์ ชมภูวิเศษ, นวัตกร หอมสิน Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275008 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 การพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยการจัดการเรียนรู้แบบทำนาย สังเกต อธิบาย ร่วมกับเทคนิคการใช้คำถาม สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274798 <p>การวิจัยครั้งนี้เป็นวิจัยเชิงปฏิบัติการ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยการจัดการเรียนรู้แบบทำนาย สังเกต อธิบาย ร่วมกับเทคนิคการใช้คำถาม สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ให้ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 โดยนำกระบวนการดำเนินงานวิจัยเชิงปฏิบัติการตามแนวคิดของ Kurt Lewin กลุ่มเป้าหมายคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 8 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยการจัดการเรียนรู้แบบทำนาย สังเกต อธิบาย ร่วมกับเทคนิคการใช้คำถาม 2) แบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และ 3) แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ของนักเรียน วิเคราะห์ข้อมูลจากแบบประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยการหาค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน นำข้อมูลที่ได้จากแบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ของนักเรียน วิเคราะห์ ประมวลผล เรียบเรียงและนำเสนอในรูปแบบความเรียง ผลการวิจัย พบว่า นักเรียนมีคะแนนการประเมินทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ มีคะแนนเฉลี่ย คิดเป็น ร้อยละ 81.67 ซึ่งผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ขึ้นไปของคะแนนเต็มตามที่กำหนด และมีจำนวนนักเรียนที่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 จำนวน 8 คน ของนักเรียนทั้งหมด คิดเป็นร้อยละ 100 ซึ่งเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของการวิจัย</p> สุจิตตรา พันธ์ภูรักษ์, จิตราภรณ์ วงศ์คำจันทร์ Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274798 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 การพัฒนาความเข้าใจเชิงมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ เรื่อง ฟังก์ชันเอกซ์โพแนนเชียลของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้การจัดการเรียนรู้ที่เน้นการอภิปรายร่วมกับการใช้เทคโนโลยี และ ChatGPT https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274894 <p style="font-weight: 400;">&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์มโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ เรื่อง ฟังก์ชันเอกซ์โพแนนเชียล ของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการอภิปรายร่วมกับการใช้เทคโนโลยี และ ChatGPT กลุ่มเป้าหมายคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/3 จำนวน 40 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองและเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการอภิปรายร่วมกับการใช้เทคโนโลยี และ ChatGPT เรื่อง ฟังก์ชันเอกซ์โพแนนเชียล จำนวน 14 แผน และแบบวัดความเข้าใจเชิงมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติพื้นฐาน คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้การวิเคราะห์เนื้อหา</p> <p style="font-weight: 400;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยพบว่า 1) ความเข้าใจเชิงมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการอภิปรายร่วมกับการใช้เทคโนโลยี และ ChatGPT อยู่ในระดับปานกลางขึ้นไป แสดงให้เห็นว่านักเรียนมีความสามารถในการจำแนกและเลือกใช้ทฤษฎีบท กฎ สูตร บทนิยามและสมบัติ และอ้างอิงขอบเขตหรือเงื่อนไขต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสมตามบริบท แต่มีนักเรียนบางส่วนที่ขาดความรอบคอบในการตรวจสอบความถูกต้องของการอ้างอิงขอบเขต และเงื่อนไขในบริบทต่าง ๆ อาจนำไปสู่การเกิดข้อผิดคลาดในการคำนวณ และ 2) นักเรียนมีมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนทางคณิตศาสตร์ 2 รูปแบบ ได้แก่ มโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนด้านการบิดเบือนทฤษฎีบท กฎ สูตร บทนิยาม และสมบัติ และมโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนด้านการอ้างอิงเกินขอบเขตหรือเงื่อนไข</p> ปุญชรัสมิ์ วรรณบวร, สกล ตั้งเก้าสกุล, ชนิศวรา เลิศอมรพงษ์ Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274894 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 ความต้องการจำเป็นในการพัฒนาบริหารวิชาการโรงเรียนในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดชุมพร ตามแนวคิดความฉลาดรู้เชิงนิเวศ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275018 <p>บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลำดับความต้องการจําเป็นของการพัฒนาการบริหารวิชาการโรงเรียนในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดชุมพร ตามแนวคิดความฉลาดรู้เชิงนิเวศ โดยการผลักดันประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมเป็นส่วนหนึ่งของการจัดการศึกษา ผ่านการพัฒนาหลักสูตร การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ การพัฒนาสื่อนวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา ซึ่งบูรณาการแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน การพัฒนาระบบการวัดและประเมินผลเพื่อบ่มเพาะผู้เรียนให้เป็นมีผู้องค์ความรู้ มีทักษะในการแก้ไขปัญหา เกิดความตระหนักและมีจิตสำนึกรับผิดชอบต่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น ใช้วิธีการวิจัยเชิงบรรยาย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความต้องการจําเป็น (PNIModified) โดยมีผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้บริหารและครูโรงเรียนในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดชุมพร จำนวน 90 คน ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพปัจจุบันการพัฒนาการบริหารวิชาการโรงเรียนในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดชุมพร ตามแนวคิดความฉลาดรู้เชิงนิเวศ อยู่ในระดับปานกลาง โดยการพัฒนาหลักสูตรการพัฒนาระบบการวัดและประเมินผลค่าเฉลี่ยสูงสุด และการพัฒนาสื่อนวัตกรรม เทคโนโลยีทางการศึกษา และแหล่งเรียนรู้มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด สภาพที่พึงประสงค์ของการพัฒนาการบริหารวิชาการโรงเรียนในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดชุมพร ตามแนวคิดความฉลาดรู้เชิงนิเวศ อยู่ในระดับมาก โดยการพัฒนาระบบการวัดและประเมินผลมีค่าเฉลี่ยสูงสุด และการพัฒนาหลักสูตรมีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 2) ค่าดัชนีความต้องการจําเป็นของการพัฒนาการบริหารวิชาการโรงเรียนในสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดชุมพร ตามแนวคิดความฉลาดรู้เชิงนิเวศโดยภาพรวม คือ 0.416 (PNIModified = 0.416) เมื่อพิจารณาตามขอบข่ายการบริหารวิชาการ พบว่า การพัฒนาระบบการวัดและประเมินผลมีค่าความต้องการจําเป็นในการพัฒนาสูงสุด และการพัฒนาหลักสูตรมีค่าความต้องการจําเป็นในการพัฒนาต่ำสุด</p> <p>The purpose of this research was to study the priority needs for developing the academic management of Chumphon Provincial Administrative Organization schools based the concept of ecoliteracy. This involves promoting environmental issues as part of academic management through curriculum development, learning process development, and educational innovation and technology development, which integrate learning resources both inside and outside the school. It also includes the development of measurement and evaluation systems to encourage students to be knowledgeable, have problem-solving skills, be aware, and have a sense of responsibility towards the conservation of local natural resources. This research used a descriptive method, with a questionnaire as the research instrument. The statistics for data analysis were the arithmetic mean, standard deviation, and priority needs analysis (PNImodified). The informants were 90 school administrators and teachers under the Chumphon Provincial Administrative Organization. The research results showed that 1) The current state is at a moderate level. Curriculum development and the development of measurement and evaluation systems had the highest mean, and educational innovation and technology development had the lowest mean. The desired state of development in academic management in these schools based the concept of ecoliteracy is at a high level. The development of measurement and evaluation systems had the highest mean, and curriculum development had the lowest mean. 2) The overall priority needs index of developing academic management of Chumphon Provincial Administrative Organization schools based the concept of ecoliteracy is 0.416 (PNIModified = 0.416). When considering the scope of academic management, it was found that the development of measurement and evaluation systems had the highest priority needs index, and curriculum development had the lowest priority needs index.</p> เบญจพร สุทธิบูรณ์, พงษ์ลิขิต เพชรผล Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275018 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการ การศึกษาปฐมวัย ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 2 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275059 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการ การศึกษาปฐมวัย 2) เปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริหารและครูระดับปฐมวัย จําแนกตามเพศ อายุ วุฒิการศึกษา ประสบการณ์ทำงาน และขนาดสถานศึกษา และ 3) ศึกษาแนวทางบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการ การศึกษาปฐมวัย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูปฐมวัย จำนวน 165 คน ใช้การสุ่มแบบแบ่งชั้นตามขนาดสถานศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามที่มีค่าความตรงเชิงเนื้อหาเท่ากับ .67-1.00 และความเที่ยงเท่ากับ .99 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที (t-test independent) การวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) ทดสอบความแตกต่างรายคู่ด้วย LSD และการวิเคราะห์เนื้อหา</p> <p>ผลการวิจัย พบว่า 1) บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการจัดการศึกษาปฐมวัย ในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เรียงจากค่าเฉลี่ยสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านบทบาทหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้องในการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ด้านการนิเทศ กำกับ ติดตาม การนำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยไปสู่การปฏิบัติ ด้านการการพัฒนาผู้สอนและบุคลากรปฐมวัย ด้านการสนับสนุนงบประมาณและทรัพยากร และ ด้านการประเมินหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย 2) ผลการเปรียบเทียบความคิดเห็นของผู้บริหารและครูระดับปฐมวัยที่มีเพศ อายุ ต่างกัน มีความคิดเห็นไม่แตกต่างกันในภาพรวม ส่วนวุฒิการศึกษา ประสบการณ์ทำงาน และขนาดสถานศึกษาต่างกัน มีความคิดเห็นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 3) แนวทางบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษา คือ ผู้บริหารควรส่งเสริมการประเมินหลักสูตรสถานศึกษา ติดตามความก้าวหน้าของการใช้หลักสูตรเป็นระยะ และพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยอย่างต่อเนื่อง</p> อรกัญญา ผดากุลพัชร, ชลาภรณ์ สุวรรณสัมฤทธิ์ Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275059 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 การพัฒนาความสามารถด้านการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษ โดยใช้กลวิธีเมตาคอกนิชันร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบเกมเป็นฐาน ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275034 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความสามารถด้านการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษของนักศึกษาก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ โดยใช้กลวิธีเมตาคอกนิชันร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบเกมเป็นฐาน 2) เปรียบเทียบความสามารถด้านการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษหลังการจัดการเรียนรู้ กับเกณฑ์ร้อยละ 70 และ 3) ศึกษาระดับความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย เป็นนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยเทคโนโลยีช่างกลพณิชยการนครราชสีมา ที่ศึกษาในภาคเรียนฤดูร้อน ปีการศึกษา 2566 จำนวน 19 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ 2) แบบทดสอบวัดความสามารถด้านการอ่านจับใจความ แบบปรนัย 5 ตัวเลือก จำนวน 30 ข้อ และ 3) แบบสอบถามวัดความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ แบบมาตราประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 15 ข้อ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ได้ทดสอบการแจกแจงแบบโค้งปกติ โดยใช้ Kolmogorov-Smirnov พบว่า แจกแจงแบบโค้งปกติ&nbsp;&nbsp; และทดสอบสมมติฐานโดยใช้ t-test for Dependent Sample ผลการวิจัยพบว่า 1)ความสามารถด้านการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษ หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ความสามารถด้านการอ่านจับใจความภาษาอังกฤษ หลังเรียนคิดเป็นร้อยละ 83.68 สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ความพึงพอใจที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้กลวิธีเมตาคอกนิชันร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบเกมเป็นฐาน พบว่า นักศึกษามีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด</p> เนตรนภา เขาโคกกรวด, ศิริพร พึ่งเพ็ชร์ Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275034 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้กลวิธี พี เอส คิว ไฟว์ อาร์ ร่วมกับกลวิธีผังสัมพันธ์ของความหมายที่มีต่อความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275047 <p><span style="vertical-align: inherit;"><span style="vertical-align: inherit;"> การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยกลวิธี พี เอส คิว ไฟว์ อาร์ ร่วมกับกลวิธีผังสัมพันธ์ของความหมายก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ 2) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยกลวิธี พี เอส คิว ไฟว์ อาร์ ร่วมกับผังสัมพันธ์ของความหมายกับการจัดการเรียนรู้แบบปกติ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนพระโขนงพิทยาลัย จำนวน 2 ห้องเรียน รวม 74 คน โดยใช้การสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม จากนั้นเลือกกลุ่มทดลองด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย จำนวน 1 ห้องเรียน จำนวนนักเรียน 37 คน และกลุ่มควบคุม 1 ห้องเรียน จำนวนนักเรียน 37 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยกลวิธี พี เอส คิว ไฟว์ อาร์ ร่วมกับกลวิธีผังสัมพันธ์ของความหมาย 2) แผนการจัดการเรียนรู้แบบปกติ 3) แบบทดสอบวัดความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบด้วย t-test for dependent และ t-test for independent ผลการวิจัยพบว่า 1) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยกลวิธี พี เอส คิว ไฟว์ อาร์ ร่วมกับกลวิธีผังสัมพันธ์ของความหมายมีความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์หลังการทดลองสูงกว่าการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 2) นักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยกลวิธี พี เอส คิว ไฟว์ อาร์ ร่วมกับกลวิธีผังสัมพันธ์ของความหมายมีความสามารถในการอ่านเชิงวิเคราะห์สูงกว่านักเรียนที่ได้รับ การจัดการเรียนรู้แบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05</span></span></p> ชนิตา ยักครินทร์, ศุภวรรณ สัจจพิบูล Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275047 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 แนวทางการระดมทรัพยากรทางการศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274934 <p>การวิจัยครั้งนี้ มีความมุ่งหมายเพื่อศึกษา 1) เพื่อศึกษาสภาพของการระดมทรัพยากรทางการศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์เขต 3 2) เพื่อศึกษาแนวทางการระดมทรัพยากรทางการศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์เขต 3 ประชากรที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ สถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์เขต 3 จำนวนทั้งสิ้น 233 โรงเรียน กลุ่มตัวอย่างคือ สถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์เขต 3 ได้มาโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 148 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบประเมินความเหมาะสมขององค์ประกอบ แบบสอบถาม แบบการระดมสมอง สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน</p> <p>ผลการวิจัยพบว่า</p> <ol> <li class="show">สภาพของการระดมทรัพยากรทางการศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์เขต 3 พบว่า 1) องค์ประกอบของการระดมทรัพยากรทางการศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษามี 5 องค์ประกอบดังนี้ (1) ด้านทรัพยากรบุคคล (2) ด้านทรัพยากรการเงิน (3) ด้านทรัพยากรวัสดุอุปกรณ์ (4) ด้านทรัพยากรการบริหารจัดการ (5) ด้านทรัพยากรที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง 2) สภาพของการระดมทรัพยากรทางการศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์เขต 3 ในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน</li> </ol> <p> 2. ศึกษาแนวทางการระดมทรัพยากรทางการศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์เขต 3 ด้วยวิธีการระดมสมอง ได้แนวทางการระดมทรัพยากรทางการศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์เขต 3 จำนวน 5 ด้าน 26 แนวทาง</p> <p> </p> ศศิกร วัฒนาจิรภาส, ศุภธนกฤษ ยอดสละ, วสันต์ชัย กากแก้ว Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274934 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 ความสามารถในการเปลี่ยนผ่านทางดิจิทัลขององค์กรในประเทศไทย ผ่านมุมมองของพนักงานในองค์กรนวัตกรรมในประเทศไทย https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275217 <p>การศึกษาครั้งนี้มีมีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยคุณลักษณะการเป็นองค์กรนวัตกรรม และความสามารถในการเปลี่ยนผ่านทางดิจิทัลขององค์กรในประเทศไทย &nbsp;2) ศึกษามุมมองของพนักงานในองค์กรนวัตกรรมในการเปลี่ยนผ่านทางดิจิทัลขององค์กรการศึกษาครั้งนี้ผู้วิจัยใช้วิธีการศึกษาวิธีวิจัยเชิงปริมาณ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วยสถิติพรรณนา ได้แก่ การแจกแจงความถี่ (Frequency) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) เพื่อทดสอบสมมติฐานการศึกษา ได้แก่ การวิเคราะห์ถดถอยแบบพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) และวิเคราะห์ผลทดสอบสมมติฐานเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างประชากรตั้งแต่ 2 กลุ่มขึ้นไปที่เป็นอิสระต่อกัน (F-Test วิเคราะห์แบบ One-way ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยคุณลักษณะการเป็นองค์กรนวัตกรรมที่ส่งผลต่อความสามารถในการเปลี่ยนผ่านทางดิจิทัลขององค์กรในประเทศไทย &nbsp;ได้แก่ การวางแผน และการออกแบบ การเลือกบุคลากรที่เหมาะสมกับหน้าที่ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การดำเนินการ การปรับตัวการใช้เทคโนโลยี การสร้างนวัตกรรมใหม่ การสร้างความโปร่งใส การประเมินผลที่มีมาตรฐาน และโครงสร้างและวัฒนธรรมองค์กร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และผลการศึกษามุมมองของพนักงานในองค์กรนวัตกรรมในการเปลี่ยนผ่านทางดิจิทัลขององค์กรพบว่า ด้านอายุ และอายุการทำงานในองค์กรต่างกัน มีความคิดเห็นต่อความสามารถในการเปลี่ยนผ่านทางดิจิทัลขององค์กรในประเทศไทย &nbsp;แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 พนักงานที่ปฏิบัติงานในธุรกิจที่มีลักษณะการจดทะเบียนประกอบธุรกิจ ลักษณะการดำเนินธุรกิจ อุตสาหกรรมของธุรกิจ และจำนวนบุคลากรทั้งหมดของธุรกิจในปัจจุบันต่างกัน มีความคิดเห็นต่อความสามารถในการเปลี่ยนผ่านทางดิจิทัลขององค์กรในประเทศไทย &nbsp;แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05</p> ศิริกาญจน์ ธัญพิมลโรจน์, สิริชัย ดีเลิศ Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275217 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 การวิจัยปฏิบัติการเพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษโดยใช้รูปแบบการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารเสริมด้วยแบบฝึกที่เน้นเทคนิค 5W1H ต่อความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274974 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษโดยใช้รูปแบบการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารเสริมด้วยแบบฝึกที่เน้นเทคนิค5W1H ต่อความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 2) เพื่อศึกษาความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารเสริมด้วยแบบฝึกที่เน้นเทคนิค 5W1H 3) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารเสริมด้วยแบบฝึกที่เน้นเทคนิค 5W1H กับเกณฑ์ร้อยละ 75 4) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร เสริมด้วยแบบฝึกที่เน้นเทคนิค 5W1H กับเกณฑ์ร้อยละ 75 5) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2ที่เรียนด้วยกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารเสริมด้วยแบบฝึกที่เน้นเทคนิค 5W1H ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน</p> <p> ผลการวิจัยพบว่า 1) ผู้วิจัยได้สร้างแผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง Free time and Entertainment เพื่อพัฒนาความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้รูปแบบการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารเสริมด้วยแบบฝึกที่เน้นเทคนิค 5W1H จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยผ่านการตรวจสอบจากอาจารย์ที่ปรึกษา และผู้เชี่ยวชาญ 3 คน ก่อนนำไปใช้กับลุ่มเป้าหมายและใช้รูปแบบการวิจัยเชิงปฏิบัติการมาพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ โดยมี 3 วงจรแต่ละวงจรมีการสังเกตและเก็บรวบรวมข้อมูลและสะท้อนผลจากการจัดการเรียนรู้เพื่อนำมาปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารที่สามารถพัฒนาความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจและพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษ 2) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีคะแนนความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจจากกิจกรรมการเรียนการสอน โดยใช้รูปแบบการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร เสริมด้วยแบบฝึกที่เน้นเทคนิค 5W1H เฉลี่ยหลังเรียนเท่ากับ 8.22 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 82.20 นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 75 3) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาอังกฤษจากกิจกรรมการเรียนการสอน โดยใช้รูปแบบการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร เสริมด้วยแบบฝึกที่เน้นเทคนิค 5W1H เฉลี่ยหลังเรียนเท่ากับ 22.74 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 75.80 นักเรียนมีคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 75</p> อุบล กุตัน, สมชาย วรกิจเกษมสกุล Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274974 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 การประเมินโครงการโรงเรียนวิถีพุทธ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลำภูเขต 2 โดยใช้รูปแบบการประเมิน CIPPIEST https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275127 <p style="font-weight: 400;">การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินโครงการโรงเรียนวิถีพุทธ สังกัดสํานักงาน&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลําภู เขต 2 โดยใช้รูปแบบการประเมิน CIPPIET ใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบเชิงปริมาณ จํานวน 102 โรงเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้บริหารโรงเรียน และครูในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานองบัวลำภู เขต 2 จำนวน 240 คน โดยใช้การสุ่มแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมาตรส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.95 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน</p> <p style="font-weight: 400;">&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัย พบว่า การประเมินโครงการโรงเรียนวิถีพุทธ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองบัวลําภู เขต 2 โดยใช้รูปแบบการประเมิน CIPPIEST มี 8 องค์ประกอบ โดยรวมอยู่ในระดับมาก ได้แก่ 1) การประเมินบริบท (Context) อยู่ในระดับมาก 2) การประเมินปัจจัยนําเข้า (Input) อยู่ในระดับมาก 3) การประเมินกระบวนการ (Process) อยู่ในระดับมาก&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;4) การประเมินผลผลิต (Product) อยู่ในระดับมาก 5) การประเมินผลกระทบ (Impact) อยู่ในระดับปานกลาง 6) การประเมินประสิทธิผล (Effectiveness) อยู่ในระดับปานกลาง 7) การประเมินความยั่งยืน (Sustainability) อยู่ในระดับมาก 8) การประเมินการถ่ายโยงความรู้ (Transportability) อยู่ในระดับมาก</p> ศุภรัตน์ พลประเสริฐ, พัชรินทร์ ชมภูวิเศษ, พิมพ์พร จารุจิตร์ Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275127 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์การบริหารส่วนตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274304 <p>การศึกษาในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วมของประชาชน และศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์การบริหารส่วนตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ศึกษาเป็นเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย เก็บรวบรวมข้อมูลจาก ประชาชนในเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วน ตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติติเชิงพรรณนา และทดสอบสมมติฐานด้วยการวิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณ ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ผลการวิจัย พบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนรวมในภาพรวมอยู่ในระดับน้อย ด้านทัศนคติในการพัฒนาท้องถิ่นอยู่ในระดับน้อย รองลงมา คือ ด้านผู้นำท้องถิ่น ด้านการสื่อสารและการประชาสัมพันธ์ และด้านความรู้ความเข้าใจของประชาชน โดยทั้ง 3 ด้านอยู่ในระดับน้อย และปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการทำแผนพัฒนาท้องถิ่น ได้แก่ ทัศนคติในการพัฒนาท้องถิ่น ความรู้ความเข้าใจของประชาชน การสื่อสารและการประชาสัมพันธ์ และผู้นำท้องถิ่น มีผลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นขององค์การบริหารส่วนตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05</p> ชนาธิป มินสิน, นิวัตน์ สวัสดิ์แก้ว, นุกูล ชิ้นฟัก Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274304 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 การศึกษาองค์ประกอบความเป็นนวัตกรการศึกษาของครู https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275360 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบความเป็นนวัตกรการศึกษาของครู แบ่งเป็น 2 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 สังเคราะห์องค์ประกอบความเป็นนวัตกรการศึกษาของครูจากการศึกษาแนวคิด เอกสารและงานวิจัย จำนวน 10 แหล่ง ขั้นตอนที่ 2 ประเมินความเหมาะสมขององค์ประกอบความเป็นนวัตกรการศึกษา โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสังเคราะห์เอกสาร และแบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ความเป็นนวัตกรการศึกษาของครู ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ ดังนี้ 1) การคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 2) การสังเกต 3) การทดลอง 4) การสร้างเครือข่าย 5) การกล้าเสี่ยง และ 6) การตั้งคำถาม โดยทุกองค์ประกอบมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด</p> ศิริกัญญา ศิริสุทธารมย์, พรเทพ เสถียรนพเก้า, อภิสิทธิ์ สมศรีสุข Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275360 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 การพัฒนาความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่และความฉลาดทางอารมณ์ โดยใช้รูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ร่วมกับการละเล่นพื้นบ้าน ของเด็กอนุบาลปีที่ 3 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274158 <p> การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาพัฒนาการความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่หลังการใช้รูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ร่วมกับการละเล่นพื้นบ้าน ของเด็กอนุบาลปีที่ 3 <br />และ 2) ศึกษาพัฒนาการความฉลาดทางอารมณ์หลังใช้รูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ร่วมกับการละเล่นพื้นบ้าน ของเด็กอนุบาลปีที่ 3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 3 <br />โรงเรียนบ้านย่านซื่อ จำนวน 1 ห้องเรียน รวม 7 คน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 ที่ได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย (Simple random sampling) โดยใช้โรงเรียนเป็นหน่วย</p> <p>สุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาพัฒนาการความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่หลังการใช้รูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ร่วมกับการละเล่นพื้นบ้าน ของเด็กอนุบาลปีที่ 3 และ 2) ศึกษาพัฒนาการความฉลาดทางอารมณ์หลังใช้รูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติของ<br />เดวีส์ร่วมกับการละเล่นพื้นบ้าน ของเด็กอนุบาลปีที่ 3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 3 โรงเรียนบ้านย่านซื่อ จำนวน 1 ห้องเรียน รวม 7 คน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1 สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 ที่ได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย (Simple random sampling) โดยใช้โรงเรียนเป็นหน่วยสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ ของเด็กอนุบาลปีที่ 3 จำนวน 8 แผน 2) แบบประเมินความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่ จำนวน 1 ฉบับ โดยครอบคลุม 4 ทักษะ ได้แก่ ทักษะการทรงตัว ทักษะการเดิน ทักษะการวิ่ง และทักษะการกระโดด เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 3 ระดับ จำนวน 12 ข้อ มีความดัชนีความสอดคล้อง เท่ากับ 1.00 3) แบบสังเกตพฤติกรรมความฉลาดทางอารมณ์จำนวน 1 ฉบับ เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 4 ระดับ จำนวน 15 ข้อ มีความดัชนีความสอดคล้อง เท่ากับ 1.00 สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน</p> <p> ผลการวิจัย พบว่า</p> <p><span style="font-size: 0.875rem;">1. เด็กอนุบาลปีที่ 3 มีพัฒนาการความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่หลังใช้รูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ร่วมกับการละเล่นพื้นบ้าน สูงขึ้นตามลำดับ</span></p> <p><span style="font-size: 0.875rem;">2. เด็กอนุบาลปีที่ 3 มีพัฒนาการความฉลาดทางอารมณ์หลังใช้รูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีส์ร่วมกับการละเล่นพื้นบ้าน มีความฉลาดทางอารมณ์สูงขึ้นตามลำดับ</span></p> ธิดารัตน์ เสวตวงศ์, ยุพิน ยืนยง Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274158 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 แนวทางการบริหารความเสี่ยงด้านงบประมาณของสถานศึกษายุคดิจิทัลสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุดรธานี https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274168 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพที่เป็นจริง สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นของการบริหารความเสี่ยงด้านงบประมาณของสถานศึกษายุคดิจิทัล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุดรธานี 2) เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารความเสี่ยงด้านงบประมาณของสถานศึกษายุคดิจิทัล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุดรธานี การศึกษาในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้บริหารสถานศึกษา และครู จำนวน 331 คน กำหนดกลุ่มตัวอย่างด้วยตารางเครจซีและมอร์แกน โดยระยะที่ 1 เป็นการเก็บข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้แบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม 0.976 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าสถิติ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และจัดเรียงลำดับความต้องการจำเป็น ระยะที่ 2 การเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยใช้แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ วิเคราะห์เนื้อหา และนำเสนอโดยการพรรณนา</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยพบว่า สภาพที่เป็นจริงและสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารความเสี่ยงด้านงบประมาณของสถานศึกษายุคดิจิทัล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุดรธานี โดยรวมอยู่ในระดับมาก และด้านที่มีความต้องการจำเป็นสูงสุดคือ ด้านการระบุเหตุการณ์ความเสี่ยง (PNI<sub>Modified</sub>=0.076)</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; แนวทางการบริหารความเสี่ยงด้านงบประมาณของสถานศึกษายุคดิจิทัล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุดรธานี ควรดำเนินการดังนี้ 1) วิเคราะห์การบริหารความเสี่ยง ประชาสัมพันธ์ชี้แจงวัตถุประสงค์และเป้าหมายด้านงบประมาณ 2) โดยนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ระบุเหตุการณ์หรือสาเหตุของความเสี่ยง 3) การประเมินและจัดลำดับความเสี่ยงโดยนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการปฏิบัติงาน 4) การจัดการตอบสนองความเสี่ยงแต่ละความเสี่ยง ถ่ายโอนความเสี่ยง วางแผนหลีกเลี่ยงความเสี่ยง 5) ส่งเสริมให้ครู บุคลากรตระหนักถึงความสำคัญของการบริหารความเสี่ยงด้านงบประมาณ ค้นหาความเสี่ยง และป้องกันความเสี่ยง 6) ประเมินผลการบริหารความเสี่ยงด้านงบประมาณ อย่างน้อยปีงบประมาณละ 1 ครั้ง&nbsp; และใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการรายงานผลความเสี่ยง</p> นิตยา กรุพิมาย, สิทธิชัย สอนสุภี, กรองแก้ว กิ่งสวัสดิ์ Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274168 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 การพัฒนาความสามารถในการคิดวิเคราะห์และจิตวิทยาศาสตร์โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยกลุ่มเทคนิคสืบค้นร่วมกับแผนผังความคิดสำหรับนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274187 <p>การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 ก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยกลุ่มเทคนิคสืบค้นร่วมกับแผนผังความคิด 2) ศึกษาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 หลังได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยกลุ่มเทคนิคสืบค้นร่วมกับแผนผังความคิด เทียบกับเกณฑ์ร้อยละ 80 และ 3) ศึกษาจิตวิทยาศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 หลังได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยกลุ่มเทคนิคสืบค้นร่วมกับแผนผังความคิด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านท่าไม้ลาย สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชุมพร เขต 1 ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 26 คน ที่ได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งกลุ่ม โดยใช้โรงเรียนเป็นหน่วยสุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยกลุ่มเทคนิคสืบค้นร่วมกับแผนผังความคิด มีค่าความสอดคล้องระหว่าง 0.67-1.00 2) แบบทดสอบวัดความสามารถในการคิดวิเคราะห์ มีค่าความสอดคล้องระหว่าง 0.67-1.00 ค่าความยากง่ายระหว่าง 0.33-0.95 ค่าอำนาจจำแนกระหว่าง 0.24-0.86 และ ค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.92 และ 3) แบบวัดจิตวิทยาศาสตร์ มีค่าความสอดคล้องระหว่าง 0.67-1.00 สถิตที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า</p> <p><span style="font-size: 0.875rem;">1. ผลการเปรียบเทียบความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 ก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยกลุ่มเทคนิคสืบค้นร่วมกับแผนผังความคิดมีคะแนนเฉลี่ย (</span><span style="font-size: 0.875rem;">X̅ = 30.27, S.D. = 1.08) สูงกว่าก่อนการจัดการเรียนรู้ (</span><span style="font-size: 0.875rem;">X̅= 16.88, S.D. = 1.15) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05</span></p> <p><span style="font-size: 0.875rem;">2. ผลการศึกษาความสามารถในการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 หลังได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยกลุ่มเทคนิคสืบค้นร่วมกับแผนผังความคิดเทียบกับเกณฑ์ มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 80 โดยหลังเรียนนักเรียนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ร้อยละ 86.48</span></p> <p>3. ผลการศึกษาจิตวิทยาศาสตร์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 หลังได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยกลุ่มเทคนิคสืบค้นร่วมกับแผนผังความคิดโดยภาพรวม อยู่ในระดับดี (X̅ = 4.23, S.D. = 0.13) เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า อยู่ในระดับดีทุกด้าน โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านความร่วมมือช่วยเหลือ (X̅ = 4.38, S.D. = 0.51) ด้านความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ( X̅= 4.30, S.D. = 0.49) ด้านเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์ ( X̅= 4.12, S.D. = 0.83) ด้านความรับผิดชอบ (X̅ = 4.11, S.D. = 0.56) ตามลำดับ</p> นิโลบล ชัยชนะ, วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล, ปัญญา ทองนิล Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274187 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 แนวทางการพัฒนาสมรรถนะดิจิทัลสำหรับครูเพื่อการจัดการเรียนรู้เชิงรุกในโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดหนองคาย https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274194 <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ1) ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของสมรรถนะดิจิทัลสำหรับครูเพื่อการจัดการเรียนรู้เชิงรุกในโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดหนองคาย 2) ศึกษาแนวทางการพัฒนาสมรรถนะดิจิทัลสำหรับครูเพื่อการจัดการเรียนรู้เชิงรุกในโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดหนองคาย ใช้วิธีวิจัยเชิงพรรณนา ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้บริหารและครู จำนวน 291 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม ค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับ 0.97 แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างและการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของสมรรถนะดิจิทัลสำหรับครูเพื่อการจัดการเรียนรู้เชิงรุกฯ โดยรวมอยู่ในระดับมาก ความต้องการจำเป็น คือ การเอื้ออำนวยความสะดวกทางเทคโนโลยีดิจิทัลให้กับผู้เรียน 2. แนวทางการพัฒนาสมรรถนะดิจิทัลสำหรับครูเพื่อการจัดการเรียนรู้เชิงรุกฯ 1) การจัดการทรัพยากรดิจิทัลเพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ ควรเปิดโอกาสให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการวางแผนพัฒนาการศึกษาด้านเทคโนโลยีดิจิทัล 2) การจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ควรสร้างวัฒนธรรมการเรียนรู้ระหว่างครูเพื่อพัฒนาวิชาชีพผ่านชุมชนการเรียนรู้ 3) การสื่อสารอย่างมีส่วนร่วมผ่านสังคมออนไลน์ ควรพัฒนาระบบเทคโนโลยีเพื่อการสื่อสารองค์กร โดยใช้แฟลตฟอร์มดิจิทัลต่าง ๆ 4) การเอื้ออำนวยความสะดวกทางเทคโนโลยีดิจิทัลให้กับผู้เรียน ควรสนับสนุนงบประมาณสำหรับสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 5) การนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้สำหรับการประเมินผลผู้เรียน ควรนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการประเมินผลและติดตามผลการเรียนของผู้เรียน 6) จริยธรรมและความปลอดภัยทางดิจิทัล ควรจัดอบรมให้ความรู้แก่ครูเพื่อเป็นต้นแบบในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลอย่างสร้างสรรค์</p> เสาวลักษณ์ รัตนะ, วัลลภา อารีรัตน์ Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274194 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 การพัฒนาทักษะการอ่านโน้ตและทักษะการเล่นดนตรีไทย โดยใช้รูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติของเดฟ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274226 <p>การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อเปรียบเทียบทักษะการอ่านโน้ตของนักเรียนก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติของเดฟ 2) เพื่อเปรียบเทียบทักษะการเล่นดนตรีไทยของนักเรียนก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติของเดฟ 3) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติของเดฟ 4) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 หลังได้รับการจัดการเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติของเดฟ ประชากรที่ใช้ในการวิจัย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 จำนวน 11 ห้องเรียน จำนวนนักเรียน 440 คน ปีการศึกษา 2566 โรงเรียน</p> <p>ศรัทธาสมุทร จังหวัดสมุทรสงคราม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรสาคร สมุทรสงคราม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/5 โรงเรียนศรัทธาสมุทร ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 ได้จากการสุ่มอย่างง่าย (Simple random sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยในครั้ง ได้แก่ 1) แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาดนตรี จำนวน 12 แผน 2) แบบวัดทักษะการอ่านโน้ต 3) แบบวัดทักษะการเล่นดนตรีไทย 4) แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดฟ 5) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียน มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.78 สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. ทักษะการอ่านโน้ตของนักเรียนก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติของเดฟ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งสอดคล้องกับสมติฐานข้อที่ 1 ทักษะการอ่านโน้ตของนักเรียนหลังได้รับการจัดการเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติของเดฟ มีค่าสูงกว่าก่อนการจัดการเรียนการสอน 2. ทักษะการเล่นดนตรีไทยของนักเรียนก่อนและหลังได้รับการจัดการเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติของเดฟ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งสอดคล้องกับสมติฐานข้อที่ 2 ทักษะการเล่นดนตรีไทยของนักเรียนหลังได้รับการจัดการเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติของเดฟ มีค่าสูงกว่าก่อนการจัดการเรียนการสอน 3. พฤติกรรมการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติของเดฟ โดยภาพรวม พบว่า ระดับการสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนอยู่ในระดับมาก 4. ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 หลังได้รับการจัดการเรียนการสอนโดยใช้รูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติของเดฟโดยภาพรวม พบว่า นักเรียนมีความพึงพอใจมากที่สุด</p> ภัทรชัย บุญสุวรรณชัย, วัชราภรณ์ ประภาสะโนบล, ยุพิน ยืนยง Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274226 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 แนวทางการพัฒนาสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาหลังวิถีปกติใหม่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุดรธานี https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274335 <p>การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาหลังวิถีปกติใหม่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุดรธานี 2) ศึกษาแนวทางการพัฒนาสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาหลังวิถีปกติใหม่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุดรธานี กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้บริหารสถานศึกษา และครู จำนวน 331 คน โดยใช้แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างและการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ 4 คน</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยพบว่า สภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาหลังวิถีปกติใหม่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุดรธานี ในภาพรวมมีค่าเฉลี่ยของระดับสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ อยู่ในระดับมากทุกด้าน ค่าดัชนีความต้องการจำเป็นของสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาหลังวิถีปกติใหม่ พบว่าความต้องการจำเป็นสูงสุดคือด้านการสื่อสารเชิงสร้างสรรค์,ด้านการจัดการเชิงกลยุทธ์ ด้านการพัฒนาตนเอง,ด้านภาวะผู้นำที่มีวิสัยทัศน์ และด้านการทำงานเป็นทีม เรียงตามลำดับ</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; แนวทางการพัฒนาสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาหลังวิถีปกติใหม่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุดรธานี พบว่า 1) ด้านการสื่อสารเชิงสร้างสรรค์ ผู้บริหารควรพัฒนาแพลตฟอร์มเทคโนโลยีสารสนเทศหลากหลายช่องทางและส่งเสริมให้ครูนำไปใช้ในการปฏิบัติงานในชั้นเรียน 2) ด้านการจัดการเชิงกลยุทธ์ ผู้บริหารควรปรับโครงสร้างการบริหารที่มีความยืดหยุ่นและพัฒนาระบบนิเทศภายในการกำกับติดตามผลการปฏิบัติงานของครูภายใต้วงจรคุณภาพ 3) ด้านการพัฒนาตนเอง ผู้บริหารควรพัฒนาตนเองและผู้ร่วมงาน เกี่ยวกับทักษะใหม่ๆ ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล ส่งเสริมให้นำมาใช้ในการปฏิบัติงานและบูรณาการสู่ชั้นเรียน และกำกับติดตาม ปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 4) ด้านภาวะผู้นำที่มีวิสัยทัศน์ ผู้บริหารเปิดโอกาสให้ครูทำงานที่ท้าทายในสิ่งใหม่ๆ ในการจัดการเรียนการสอน พัฒนาความรู้ เทคนิคหรือทักษะใหม่ๆด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แก่ครู 5) ด้านการทำงานเป็นทีม ผู้บริหารเปิดโอกาสให้ครูได้หมุนเวียนกันเป็นหัวหน้ากลุ่มงานในการปฏิบัติงานเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันและสามารถปรับตัวให้ทำงานกับครู ผู้ปกครอง และชุมชน</p> ศิริพร ศรีโคตร, วัลลภา อารีรัตน์ Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274335 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา ของโรงเรียนในอำเภอเมืองนราธิวาส สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 1 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274447 <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา ของโรงเรียนในอำเภอเมืองนราธิวาส สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 1 และ 2. เพื่อเปรียบเทียบภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาของโรงเรียนในอำเภอเมืองนราธิวาส สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 1 จำแนกตามเพศ ประสบการณ์การทำงาน และขนาดโรงเรียน กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ข้าราชการครู จำนวน 226 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสอบถามที่มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.916 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าทีและการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; ผลการวิจัยพบว่า 1. ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา ของโรงเรียนในอำเภอเมืองนราธิวาส สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต<strong>&nbsp;</strong>1 ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก และ 2. ข้าราชการครูที่มีเพศต่างกันและปฏิบัติงานในโรงเรียนขนาดต่างกัน มีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา ของโรงเรียนในอำเภอเมืองนราธิวาส สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 1 ในภาพรวมแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ในขณะที่ข้าราชการครูที่มีประสบการณ์การทำงานต่างกัน มีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา ของโรงเรียนในอำเภอเมืองนราธิวาส สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 1 ในภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05</p> รูสนา ฮามะ Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274447 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา หลังวิถีใหม่สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคายเขต 2 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274478 <p>&nbsp;การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1)เพื่อศึกษาสภาพที่เป็นจริงและสภาพที่พึงประสงค์ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาหลังวิถีใหม่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 2 2)เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาหลังวิถีใหม่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 2 การศึกษาวิจัยในครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา กลุ่มตัวอย่าง คือ ครู จำนวน 269 คน กำหนดตัวอย่างด้วยตาราง Krejcie and Mogan และทำการสุ่มกลุ่มตัวอย่างอย่างง่าย โดยระยะที่ 1 เป็นการเก็บข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้แบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม 0.986 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าสถิติ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และจัดเรียงลำดับความต้องการจำเป็น ระยะที่ 2 การเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยวิเคราะห์ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา และนำเสนอโดยการพรรณนา</p> <p>ผลการวิจัยพบว่า</p> <ol> <li class="show">สภาพที่เป็นจริงภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาหลังวิถีใหม่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 2 ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านพบว่า การมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์ มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด และการกระตุ้นทางปัญญามีค่าเฉลี่ยต่ำสุด</li> </ol> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; สภาพที่พึงประสงค์ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านพบว่า&nbsp; การจัดการเทคโนโลยีดิจิทัลมีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด และการการกระตุ้นทางปัญญามีค่าเฉลี่ยต่ำสุด</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการจัดลำดับความต้องการจำเป็นในการพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาหลังวิถีใหม่ เรียงลำดับจากค่าสูงสุดถึงต่ำสุดดังนี้ ด้านการจัดการเทคโนโลยีดิจิทัล ด้านการกระตุ้นทางปัญญา ด้านการคำนึงถึงความเป็นปัจเจก ด้านการสร้างแรงบันดาลใจ และด้านการมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์&nbsp;</p> <ol start="2"> <li class="show">ผลการศึกษาแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาหลังวิถีใหม่ มีดังนี้ 1) การสร้างแรงบันดาลใจ พบว่า ควรส่งเสริมดูแลและเอาใจใส่ผู้ร่วมงานเป็นรายบุคคล และพัฒนาผู้ร่วมงานตามความสามรถและความสนใจ การส่งเสริมความสามารถและคล่องตัวในการติดต่อสื่อสารรูปแบบใหม่และส่งเสริมการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง การให้ผู้บริหารเป็นพี่เลี้ยงในการสอนงานและเป็นที่ปรึกษาในการปฏิบัติงาน และการสร้างระบบสังคมแห่งการเรียนรู้ผ่านกระบวนการ PLC 2) การมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์&nbsp; พบว่า ผู้บริหารควรมีความยืดหยุ่นในการตัดสินใจ พัฒนาผู้ร่วมงานและตนเองอย่างต่อเนื่อง การรับฟังผู้ร่วมงานในการยอมรับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นและร่วมสร้างค่านิยมใหม่ในการขับเคลื่อน ผู้บริหารควรพัฒนาทัศนคติเชิงบวกและรับฟังความคิดเห็นที่แตกต่างเพื่อการปรับเปลี่ยนวิธีการทำงาน และความร่วมมือกับครูและชุมชน 3) การคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล พบว่าผู้บริหารเป็นแบบอย่างที่ดี และเคารพในการตัดสินใจ ด้วยทัศนคติเชิงบวก เคารพการตัดสินใจของผู้ใต้บังคับบัญชา และการส่งเสริมบรรยากาศที่ดีมีความสุขในการทำงาน 4) การกระตุ้นทางปัญญา พบว่าผู้บริหารส่งเสริมให้ครูจัดกิจกรรมเรียนรู้และพัฒนาทักษะใหม่แก่ผู้เรียน การส่งเสริมเครือข่ายผู้ปกครองและชุมชนในการศึกษา การส่งเสริมการเรียนการสอนในวิชาภาษาต่างประเทศสำหรับนักเรียนทุกคร การพัฒนาหลักสูตรแนวใหม่เพื่อเสริมสร้างคุณภาพของผู้เรียน และการส่งเสริมกิจกรรมมุ่งพัฒนาทักษะการใช้ชีวิตและการประกอบอาชีพในอนาคต 5) การจัดการเทคโนโลยี พบว่าผู้บริหารควรสนับสนุนการใช้สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลอย่างสร้างสรรค์ มาใช้ในการจัดการเรียนการสอน และการบริหารจัดการรวมทั้งพัฒนางานด้านวิชาการให้มีคุณภาพสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้</li> </ol> ปรัชญาพล จำปากุล, ประมุข ชูสอน Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274478 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 บทบาทผู้บริหารสถานศึกษาหลังวิถีปกติใหม่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคายเขต 2 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274474 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพที่เป็นจริงและสภาพที่พึงประสงค์ของบทบาทผู้บริหารสถานศึกษาหลังวิถีปกติใหม่ และ 2) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาบทบาทผู้บริหารสถานศึกษาหลังวิถีปกติใหม่ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคายเขต 2&nbsp; กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา และครู จำนวน 269 คน กำหนดขนาดตัวอย่างด้วยตารางเครจซี และมอร์แกน และทำการสุ่มกลุ่มตัวอย่างอย่างง่าย โดยระยะที่ 1 เป็นการเก็บข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้แบบสอบถามมีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม 0.857 วิเคราะห์ข้อมูล ด้วยค่าสถิติ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และจัดเรียงอันดับความสำคัญของความต้องการจำเป็น (PNI<sub>Modified</sub> ) ระยะที่ 2 การเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยวิเคราะห์ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาบทบาทผู้บริหารสถานศึกษาหลังวิถีปกติใหม่&nbsp; วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา และนำเสนอโดยวิธีการพรรณนา</p> <p>ผลการวิจัยพบว่า สภาพปัจจุบันของบทบาทผู้บริหารสถานศึกษาหลังวิถีปกติใหม่&nbsp; &nbsp;โดยรวมอยู่ในระดับน้อย และสภาพที่พึงประสงค์ โดยรวม อยู่ในระดับมากที่สุด จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่าระดับสภาพที่เป็นจริงมีค่าเฉลี่ยต่ำกว่าระดับสภาพที่พึงประสงค์เป็นรายด้านทุกด้าน โดยความต้องการจำเป็นในการพัฒนาบทบาทผู้บริหารสถานศึกษาหลังวิถีปกติใหม่&nbsp; องค์ประกอบที่มีความต้องการจำเป็นมากที่สุด ลำดับที่ 1 ได้แก่ ด้านการสนับสนุนทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมปลอดภัย (PNI<sub>Modified</sub>= 0.95) ลำดับที่ 2 ได้แก่ ด้านการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้แนวใหม่ (PNI<sub>Modified</sub> =0.94) และลำดับที่ 3 ได้แก่ ด้านการเป็นผู้นำเทคโนโลยีสารสนเทศ (PN<sub>IModified</sub> = 0.93)</p> <p>ผลการศึกษาแนวการพัฒนาบทบาทผู้บริหารสถานศึกษาหลังวิถีปกติใหม่&nbsp; พบว่าควรดำเนินการต่อไปนี้</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1) ด้านการสนับสนุนทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมปลอดภัย&nbsp; ควรดำเนินการในเรื่องการสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกเพื่อให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพ การสนับสนุนงบประมาณด้านเทคโนโลยีและการสร้างบรรยากาศชั้นเรียนเชิงบวก 2) ด้านการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้แนวใหม่ ควรดำเนินการในเรื่องการส่งเสริมให้ครูใช้เทคนิควิธีการวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้แนวใหม่อย่างหลากหลายทันสมัย และส่งเสริมครูให้จัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุกเพื่อพัฒนาผู้เรียนด้านทักษะการคิดวิเคราะห์อย่างสร้างสรรค์สู่การแก้ปัญหาและสร้างนวัตกรรมสู่ความเป็นพลโลก (Global Citizen) 3) การเป็นผู้นำเทคโนโลยีสารสนเทศ&nbsp; ควรดำเนินการในเรื่อง การส่งเสริมให้ครูทำงานเป็นทีมเพื่อนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการพัฒนางานที่ปฏิบัติและให้สะท้อนผลเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน 4) การสร้างความสัมพันธ์กับผู้ปกครองและชุมชน ควรดำเนินการในเรื่องการสร้างเครือข่ายและมีส่วนร่วมระหว่างผู้บริหาร ครูและผู้ปกครองชุมชนในการจัดทำนโยบายการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เพื่อขับเคลื่อนการจัดการศึกษาและแลกเปลี่ยนทรัพยากรในการบริหารร่วมกัน 5) ด้านการพัฒนาครูผู้นำ ควรดำเนินการในเรื่องการจัดทำวิสัยทัศน์มุ่งนวัตกรรม โดยการพัฒนาครูด้านความรู้ความสามารถด้านเทคโนโลยีดิจิทัล และส่งเสริมให้ครูทำวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน 6) การกำกับติดตามและปรับปรุง ควรดำเนินการในเรื่อง การสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (Professional Learning Community) เพื่อเปิดโอกาสให้ครูและหน่วยงานเครือข่ายได้การแลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกันและกัน รวมไปถึงการส่งเสริมระบบนิเทศภายในเพื่อกำกับติดตามและให้ความช่วยเหลือครูในการพัฒนาวิชาชีพ</p> วีนัส คำสิงห์ใส, วัลลภา อารีรัตน์ Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274474 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 กลยุทธ์การบริหารหลักสูตรฐานสมรรถนะของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต2 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274517 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารหลักสูตรฐานสมรรถนะของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 2 2) เพื่อพัฒนากลยุทธ์การบริหารหลักสูตรฐานสมรรถนะของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 2 วิธีดำเนินการวิจัยแบบผสมผสาน โดยมี 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 เป็นการศึกษาเชิงปริมาณ โดยกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 2 จำนวน 265 คน ใช้วิธีการสุ่มแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสอบถามมาตรวัดประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.96 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ระยะที่ 2 เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ การยกร่าง&nbsp;&nbsp;&nbsp; กลยุทธ์โดยใช้เทคนิค SWOT Analysis การสัมภาษณ์และประเมินกลยุทธ์ โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบประเมินความเหมาะสม ความเป็นไปได้</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยพบว่า</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1)&nbsp; สภาพปัจจุบันของการบริหารหลักสูตรฐานสมรรถนะ อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 4.37 และสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารหลักสูตรฐานสมรรถนะ อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.56 ส่วนความต้องการจำเป็นของการบริหารหลักสูตรฐานสมรรถนะ พบว่า ด้านที่มีความต้องการจำเป็นสูงสุด คือ การประเมินผลหลักสูตรฐานสมรรถนะ (PNI<sub>Modified</sub> =0.042) การวิเคราะห์หลักสูตรฐานสมรรถนะ (PNI<sub>Modified</sub> =0.040) การนำหลักสูตรฐานสมรรถนะสู่การปฏิบัติ (PNI<sub>Modified</sub> =0.039) และค่าความต้องการจำเป็นต่ำสุด คือ การวางแผนพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ (PNI<sub>Modified</sub> = 0.038)</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2)&nbsp; กลยุทธ์การบริหารหลักสูตรฐานสมรรถนะของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 2 ประกอบด้วย กลยุทธ์ที่ 1 กลยุทธ์การพัฒนาครูฐานสมรรถนะ มี 3 กลยุทธ์ย่อย 9 ตัวชี้วัด กลยุทธ์ที่ 2 กลยุทธ์การจัดการเรียนรู้ฐานสมรรถนะ มี 3 กลยุทธ์ย่อย 9 ตัวชี้วัด กลยุทธ์ที่ 3 กลยุทธ์การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ มี 3 กลยุทธ์ย่อย 9 ตัวชี้วัด และกลยุทธ์ที่ 4 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ฐานสมรรถนะ มี 3 กลยุทธ์ย่อย 9 ตัวชี้วัด</p> พงษ์เทพ อินทร์อำคา, สิทธิชัย สอนสุภี Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274517 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 กลยุทธ์การบริหารสถานศึกษายุคดิจิทัล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาบึงกาฬ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274578 <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นของการบริหารสถานศึกษายุคดิจิทัล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา บึงกาฬ 2) นำเสนอกลยุทธ์การบริหารสถานศึกษายุคดิจิทัล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาบึงกาฬ โดยมีกลุ่มตัวอย่างคือ ผู้บริหารและครูโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาบึงกาฬ จำนวน 284 คน โดยมีการกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง และทำการสุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสอบถามมาตรวัดประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.982 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยพบว่า</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 1) ผลศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นของการบริหารสถานศึกษายุคดิจิทัล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา บึงกาฬ พบว่า สภาพปัจจุบันของการบริหารสถานศึกษายุคดิจิทัล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาบึงกาฬ มีค่าเฉลี่ยโดยรวม 4.09 อยู่ในระดับมากทุกด้าน ส่วนสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารสถานศึกษายุคดิจิทัล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาบึงกาฬ มีค่าเฉลี่ยโดยรวม 4.43 อยู่ในระดับมากทุกด้าน สำหรับความต้องการจำเป็นของการบริหารสถานศึกษายุคดิจิทัล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา บึงกาฬ ด้านที่มีความจำเป็นสูงสุดไปต่ำสุด คือ การสร้างบรรยากาศดิจิทัล&nbsp;&nbsp; (PNI Modified =0.120) การพัฒนาภาวะผู้นำดิจิทัล (PNI Modified =0.079) การกำหนดวิสัยทัศน์ดิจิทัล (PNI Modified =0.071) และความต้องการจำเป็นต่ำสุด คือ การสร้างวัฒนธรรมดิจิทัล (PNI Modified =0.065)</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2) กลยุทธ์การบริหารสถานศึกษายุคดิจิทัล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาบึงกาฬ ประกอบด้วย 4 กลยุทธ์คือ กลยุทธ์ที่ 1 สร้างคุณภาพนักเรียนด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล มี 3 วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ 13 ผลลัพธ์ กลยุทธ์ที่ 2 กลยุทธ์สร้างระบบการบริหารจัดการองค์กรที่สร้างสรรค์ ทันสมัยอย่างมีส่วนร่วม มี 3 วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ 12 ผลลัพธ์ กลยุทธ์ที่ 3 กลยุทธ์สร้างระบบการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล มี 3 วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ 11 ผลลัพธ์ กลยุทธ์ที่ 4 กลยุทธ์การสร้างเครือข่ายความร่วมมือบูรณาการการเรียนรู้ด้วยพันธมิตร มี 2 วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ 7 ผลลัพธ์</p> สุขวิช จิตรจักร, สิทธิชัย สอนสุภี Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274578 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 การพัฒนาความสามารถในการทรงตัวของผู้เรียนที่มีความบกพร่องทางร่างกายหรือการเคลื่อนไหว ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจำจังหวัดร้อยเอ็ดโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้เกมการศึกษาร่วมกับอุปกรณ์ฝึกยืน https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274575 <p>การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาความสามารถในการทรงตัวของผู้เรียนที่มีความบกพร่องทางร่างกาย หรือการเคลื่อนไหว โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้เกมการศึกษาร่วมกับอุปกรณ์ฝึกยืน กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ผู้เรียนระดับชั้นเตรียมความพร้อม ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจำจังหวัดร้อยเอ็ด ที่มีความบกพร่องทางร่างกายหรือการเคลื่อนไหว และมีข้อจำกัดของการยืนทรงตัว ช่วงอายุ 4-6 ปี ปีการศึกษา 2566 จำนวน 3 คน ได้มาด้วยวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้กิจกรรมการเรียนรู้เกมการศึกษาร่วมกับอุปกรณ์ฝึกยืน 4 แผน และแบบประเมินความสามารถในการทรงตัว รูปแบบการวิจัยแบบกลุ่มตัวอย่างเดียว (Single Subject Design) เก็บข้อมูลทั้งหมด 3 ระยะ ระยะที่ 1 (A1) ระยะเส้นฐาน วัดพฤติกรรมก่อนให้เงื่อนไขทดลอง 2 ครั้ง ระยะที่ 2 (B) ระยะการทดลอง ดำเนินการทดลองโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้เกมการศึกษาร่วมกับอุปกรณ์ฝึกยืน 4 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 4 วัน วันละ 1 ชั่วโมง รวมเป็น 16 ชั่วโมง และระยะที่ 3 (A2) ระยะถอดถอน การถอดถอนเงื่อนไขการทดลองกลับสู่ระยะเส้นฐาน เก็บข้อมูล 2 ครั้ง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และร้อยละ ผลการวิจัย พบว่า</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ความสามารถในการทรงตัวของผู้เรียนที่มีความบกพร่องทางร่างกายหรือการเคลื่อนไหว หลังจากได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เกมการศึกษาร่วมกับอุปกรณ์ฝึกยืน มีค่าเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 75.83</p> ปัญญารัตน์ ยุบลพันธุ์, จิตราภรณ์ วงศ์คำจันทร์ Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274575 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 แนวทางพัฒนาครูเขตเทศบาลตำบลแคน จังหวัดสุรินทร์ ตามแนวคิดทักษะการเป็นพี่เลี้ยง https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274857 <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพพึงประสงค์ในการพัฒนาครู เขตเทศบาลตำบลแคน จังหวัดสุรินทร์ ตามแนวคิดทักษะการเป็นพี่เลี้ยง ใช้วิธีการวิจัยเชิงบรรยาย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความต้องการจําเป็น (PNI<sub>Modified</sub>) โดยมีผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้บริหาร และครูโรงเรียนในเขตเทศบาลตำบลแคน จังหวัดสุรินทร์ จำนวน 37 คน ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพปัจจุบันของการพัฒนาครู เขตเทศบาลตำบลแคน จังหวัดสุรินทร์ ตามแนวคิดทักษะการเป็นพี่เลี้ยง โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก โดยทักษะการสื่อสารมีค่าเฉลี่ยสูงสุด และทักษะการสอนงานมีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 2) สภาพที่พึงประสงค์ของการพัฒนาครู เขตเทศบาลตำบลแคน จังหวัดสุรินทร์ ตามแนวคิดทักษะการเป็นพี่เลี้ยง โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก โดยทักษะการทำงานร่วมกันมีค่าเฉลี่ยสูงสุด และทักษะการสอนงานมีค่าเฉลี่ยต่ำสุด และ 3) ค่าดัชนีความต้องการจําเป็นของการพัฒนาครู เขตเทศบาลตำบลแคน จังหวัดสุรินทร์ ตามแนวคิดทักษะการเป็นพี่เลี้ยง โดยภาพรวม คือ 0.007 (PNI<sub>Modified</sub> = 0.007) เมื่อพิจารณาตามแนวคิดทักษะการเป็นพี่เลี้ยง พบว่า ทักษะการเข้าใจผู้อื่น มีค่าความต้องการจําเป็นในการพัฒนาสูงสุด และทักษะการสื่อสาร มีค่าความต้องการจําเป็นในการพัฒนาต่ำสุด</p> เทพประสิทธิ์ ชัยปัญญา, พงษ์ลิขิต เพชรผล Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274857 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 การสร้าง Application บนโทรศัพท์มือถือ ในรายวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องปราฏการณ์ทางดาราศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนนครไทยวิทยาคม อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274824 <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเพื่อ 1) เพื่อสร้างและหาคุณภาพของ Applicationบนโทรศัพท์มือถือ ในรายวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนกับหลังเรียนด้วย Application บนโทรศัพท์มือถือ ในรายวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ 3) เพื่อเปรียบเทียบทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนก่อนเรียนกับหลังเรียนด้วย Application บนโทรศัพท์มือถือ ในรายวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องปรากฏการณ์ทางดาราศาสตร์ กลุ่มเป้าที่ใช้ในการวิจัยคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/2 โรงเรียนนครไทยวิทยาคม อำเภอนครไทย จังหวัดพิษณุโลก ปีการศึกษา 2566 จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1) Application บนโทรศัพท์มือถือ ในรายวิชาวิทยาศาสตร์ 2) คู่มือการใช้ Application บนโทรศัพท์มือถือ ในรายวิชาวิทยาศาสตร์ 3) แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน หลังการใช้ Application บนโทรศัพท์มือถือ 4) แบบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 3 ทักษะ ทักษะการสังเกต ทักษะการจำแนก และทักษะการตีความหมายข้อมูล และการลงข้อมูล 5) แบบวัดความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการใช้ Application บนโทรศัพท์มือถือ ในรายวิชาวิทยาศาสตร์ ผลการวิจัย พบว่า 1) Application บนโทรศัพท์มือถือ คุณภาพโดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก (X̅&nbsp;= 4.14, S.D. = 0.30) 2) นักเรียนที่เรียนด้วย Application บนโทรศัพท์มือถือ มีผลสัมฤทธิ์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 3) นักเรียนที่เรียนด้วย Application บนโทรศัพท์มือถือ มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อ Application บนโทรศัพท์มือถืออยู่ในระดับมาก (X̅&nbsp;= 4.14, S.D. = 0.80)</p> อัญชลี อินสาย, บัญชา สำรวยรื่น Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274824 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 การศึกษาความต้องการจำเป็นและแนวทางการพัฒนาผู้เรียนตามผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับหลักสูตรบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาการบริหารการศึกษา วิทยาลัยการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275229 <p>การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อประเมินความต้องการจำเป็นของผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับหลักสูตรบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา&nbsp; และ 2) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาผู้เรียนตามผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับหลักสูตรบัณฑิตศึกษา กลุ่มตัวอย่างในการประเมินความต้องการจำเป็นของผลลัพธ์การเรียนรู้หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา จำนวน 196 คน และหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา จำนวน 47 คน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าดัชนีความต้องการจำเป็น (PNI) กลุ่มผู้ให้ข้อมูลในการศึกษาแนวทางการพัฒนาผู้เรียนตามผลลัพธ์การเรียนรู้หลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา จำนวน 10 คน และหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา จำนวน 12 คน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบบันทึกการสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1) หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มีความต้องการจำเป็นด้านความรู้ อยู่ในลำดับแรก รองลงมา ได้แก่ ด้านทักษะ ด้านลักษณะบุคคล และด้านจริยธรรม 2) แนวทางการพัฒนาผู้เรียนตามผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับหลักสูตรบัณฑิตศึกษา ตามผลลัพธ์การเรียนรู้ 4 ด้าน ได้แก่ ด้านความรู้&nbsp; ด้านทักษะ ด้านจริยธรรม และด้านลักษณะบุคคล โดยมีแนวทางประกอบด้วยการจัดการเรียนการสอน และการวัดประเมินผล ข้อค้นพบจากงานวิจัยนี้ จะเป็นประโยชน์ในการนำไปปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาการบริหารการศึกษาตามแนวทางการศึกษาที่เน้นผลลัพธ์ Outcome-based Education (OBE) ต่อไป</p> <p>&nbsp;</p> สรญา จรัสโสภาสิทธิ์, สันติ บูรณะชาติ, โสภา อำนวยรัตน์ Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275229 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 ความต้องการจำเป็นในการพัฒนาการบริหารวิชาการที่เสริมสร้างความร่วมรู้สึก ของนักเรียนสำหรับโรงเรียนอนุบาล https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275033 <p> การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการพัฒนาการบริหารวิชาการที่เสริมสร้างความร่วมรู้สึกของนักเรียนสำหรับโรงเรียนอนุบาล 2. ศึกษาความต้องการจำเป็นของการพัฒนาการบริหารวิชาการที่เสริมสร้างความร่วมรู้สึกของนักเรียนสำหรับโรงเรียนอนุบาล โดยมีผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้อำนวยการสถานศึกษา รองผู้อำนวยการสถานศึกษา และคุณครูผู้สอนในระดับอนุบาล ได้จำนวนผู้ให้ข้อมูลรวมทั้งสิ้น 390 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ ในการพัฒนาการบริหารวิชาการที่เสริมสร้างความร่วมรู้สึกของนักเรียนสำหรับโรงเรียนอนุบาล และการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย การหาค่าร้อยละ (Percentage) การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต (𝑥̅) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) การวิเคราะห์ค่าดัชนีความต้องการจำเป็น (PNIModified)</p> <p>ผลการวิจัยโดยภาพรวม พบว่า ความต้องการจำเป็นของการพัฒนาการบริหารวิชาการที่เสริมสร้างความร่วมรู้สึกของนักเรียนสำหรับโรงเรียนอนุบาลคือ ด้านการวัดและประเมินพัฒนาการ มีลำดับความต้องการจำเป็นสูงที่สุด (PNI<sub>Modified</sub> = 0.052) รองลงมา คือ ด้านการบริหารและพัฒนาหลักสูตร(PNI<sub>Modified</sub> = 0.050) ด้านการจัดสภาพแวดล้อม แหล่งเรียนรู้และสื่ออุปกรณ์ (PNI<sub>Modified</sub> = 0.0467) และด้านการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ มีความต้องการจำเป็นน้อยที่สุด (PNI<sub>Modified</sub> = 0.0418) ซึ่งผู้วิจัยเห็นว่า สาเหตุที่ทำให้ผู้บริหารและคุณครูผู้สอนในระดับอนุบาลต้องการจัดทำการวัดและประเมินพัฒนาการเพื่อส่งเสริมความร่วมรู้สึกของนักเรียนสำหรับโรงเรียนอนุบาลเพิ่มขึ้นเนื่องจาก การวัดและประเมินพัฒนาการมีความจำเป็นและสำคัญต่อผู้เรียน รวมถึงสะท้อนประสิทธิภาพการสอน การจัดการเรียนรู้ของคุณครู และเป็นข้อมูลสำคัญในการดำเนินงานการจัดการศึกษาของสถานศึกษาอีกด้วย ดังนั้น การจัดการวัดและประเมินพัฒนาการได้ตรงกับสภาวะความเป็นจริงในปัจจุบัน จะช่วยเป็นแนวทางในการปรับปรุงคุณภาพการพัฒนาการบริหารวิชาการสำหรับโรงเรียนอนุบาลเพื่อเสริมสร้างความร่วมรู้สึกของนักเรียน</p> สันติ อุตรธิยางค์, เพ็ญวรา ชูประวัติ Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275033 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 การพัฒนาครูโรงเรียนในเครือเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการตามแนวคิดทักษะนวัตกร https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275044 <p>บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความต้องการจำเป็นของการพัฒนาครูโรงเรียนในเครือเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ ตามแนวคิดทักษะนวัตกร 2) เพื่อศึกษาวิธีพัฒนาครูโรงเรียนในเครือเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการตามแนวคิดทักษะนวัตกร เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม โดยรวบรวมข้อมูลจากผู้บริหารและครูโรงเรียนในเครือเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ <br />ปีการศึกษา 2567 ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวน 318 คน สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ดัชนีความต้องการจำเป็น (PNI<sub>modifned</sub>) และ<br />การจัดลำดับความต้องการจำเป็น สรุปผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพที่พึงประสงค์ มีค่าเฉลี่ยสูงกว่า<br />สภาพปัจจุบันของการพัฒนาทักษะนวัตกรของครูโรงเรียนในเครือเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ โดยสภาพปัจจุบันในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (= 4.010, S.D. = 0.639) ส่วนสภาพที่พึงประสงค์ในภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุด (= 4.569, S.D. = 0.550) 2) ลำดับความต้องการจำเป็นในการพัฒนาทักษะทักษะนวัตกรของครูโรงเรียนในเครือเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ สูงที่สุดคือ ด้านทักษะการสร้างเครือข่าย (PNI<sub>modified</sub> = 0.167) รองลงมาคือ ด้านทักษะการสังเกต (PNI<sub>modified</sub> = 0.141) ด้านทักษะการคิดเชื่อมโยง (PNI<sub>modified</sub> = 0.135) และ 3) วิธีพัฒนาที่ควรใช้ในการพัฒนาทักษะนวัตกรของครูโรงเรียนในเครือเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ มีจำนวน 3 วิธีการ ได้แก่ การเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ และการเรียนรู้ด้วยตนเอง</p> อาภัสรา ชัยดินี, เพ็ญวรา ชูประวัติ Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275044 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารที่ส่งผลต่อเเรงจูงใจ ในการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษา กลุ่มกรุงธนเหนือ สังกัดกรุงเทพมหานคร https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275247 <p> การวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาระดับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหาร <br />กลุ่มกรุงธนเหนือ สังกัดกรุงเทพมหานคร 2) เพื่อศึกษาระดับเเรงจูงใจในปฏิบัติงานของครู <br />กลุ่มกรุงธนเหนือ สังกัดกรุงเทพมหานคร 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำ<br />การเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารกับเเรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษา กลุ่มกรุงธนเหนือ สังกัดกรุงเทพมหานคร และ 4) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารที่ส่งผลต่อเเรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษา กลุ่มกรุงธนเหนือ สังกัดกรุงเทพมหานคร <br />กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ กลุ่มกรุงธนเหนือ จำนวน 76 แห่ง ผู้ให้ข้อมูล รวมทั้งสิ้น 380 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า1) ระดับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารที่ในสถานศึกษา กลุ่มกรุงธนเหนือ สังกัดกรุงเทพมหานคร โดยภาพรวมและทุกด้านอยู่ในระดับมาก 2) ระดับเเรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษา กลุ่มกรุงธนเหนือ สังกัดกรุงเทพมหานคร โดยภาพรวมและทุกด้านในระดับมาก 3) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารกับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษา กลุ่มกรุงธนเหนือ สังกัดกรุงเทพมหานคร มีความสัมพันธ์ไปในทิศทางเดียวกันและมีความสัมพันธ์ในทางบวก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติอยู่ที่ระดับ .01 และมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อยู่ระหว่าง .678 - .800 และ 4) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษา กลุ่มกรุงธนเหนือ สังกัดกรุงเทพมหานคร ทั้งสิ้น 3 ด้าน ได้แก่ การคำนึงถึงปัจเจกบุคคล การสร้างแรงบันดาลใจ และการกระตุ้นทางปัญญา ซึ่งมีค่าสหสัมพันธ์พหุคูณของตัวแปรเท่ากับ .860 ค่าอำนาจการพยากรณ์ร้อยละ 74.00 ค่าความคลาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นจากการพยากรณ์เท่ากับ .163 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 สามารถสร้างสมการพยากรณ์ในรูปของคะแนนดิบและคะแนนมาตรฐาน ได้ดังนี้</p> <p> = 0.561 + 0.355X<sub>4</sub><sub> </sub>+ 0.266X<sub>2</sub><sub> </sub>+ 0.236X<sub>3 </sub><sub> </sub></p> <p> = 0.400Z<sub>4 </sub>+ 0.295Z<sub>2 </sub>+ 0.259Z<sub>3 </sub> </p> สุธิตา บุญศรี, นันทิยา น้อยจันทร์ Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275247 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษา กับการบริหารวิชาการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281637 <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษา 2) เพื่อศึกษาการบริหารวิชาการของสถานศึกษา 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษากับการบริหารวิชาการของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ครูผู้สอนในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต จำนวน 279 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;มีค่าความตรงเชิงเนื้อหาอยู่ระหว่าง 0.67-1.00 และค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.97 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษาในภาพรวม และรายด้านอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดไปค่าเฉลี่ยต่ำสุด ดังนี้ ด้านการกําหนดทิศทางขององค์การ ด้านการกำหนดกลยุทธ์ ด้านการควบคุมและประเมินกลยุทธ์ และด้านการนํากลยุทธ์ไปปฏิบัติ ตามลำดับ 2) การบริหารวิชาการของสถานศึกษา ในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดไปต่ำสุด ดังนี้ ด้านการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ด้านการวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านการพัฒนาหลักสูตร ด้านการนิเทศการศึกษา และด้านการพัฒนา และใช้สื่อเทคโนโลยีทางการศึกษา ตามลำดับ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษา กับการบริหารวิชาการของสถานศึกษา โดยภาพรวมมีความสัมพันธ์เชิงบวกอยู่ในระดับสูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r = .844, ≤ .01)</p> ชลลดา หนูนิลปลอดดี, ธารินทร์ รสานนท์ Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281637 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 พัฒนาชุดฝึกทักษะการปฏิบัติเครื่องดนตรีสมัยนิยม สำหรับนักศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275094 <p>การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาชุดฝึกทักษะการปฏิบัติเครื่องดนตรีสมัยนิยม สำหรับนักศึกษา คณะครุศาสตร์&nbsp; มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี&nbsp; ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75&nbsp; เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียน และความพึงพอใจที่มีต่อชุดฝึกทักษะการปฏิบัติเครื่องดนตรีสมัยนิยม&nbsp; กลุ่มเป้าหมายคือ คือ&nbsp; นักศึกษาคณะครุศาสตร์&nbsp; มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี&nbsp; สมาชิกชุมนุมดนตรีศึกษา ภาคเรียนที่ 2 /2563 ซึ่งได้มาโดย การเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จำนวน 18 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองครั้งนี้คือ 1) ชุดฝึกทักษะการปฏิบัติเครื่องดนตรีสมัยนิยม 2)&nbsp; แบบประเมินคุณภาพชุดฝึกทักษะการปฏิบัติเครื่องดนตรีสมัยนิยม&nbsp; 3) แบบวัดชุดฝึกทักษะการปฏิบัติเครื่องดนตรีสมัยนิยม&nbsp; 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อชุดฝึกทักษะการปฏิบัติเครื่องดนตรีสมัยนิยม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า 1) ชุดฝึกทักษะการปฏิบัติเครื่องดนตรีสมัยนิยม สำหรับนักศึกษาคณะครุศาสตร์&nbsp; มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี มีประสิทธิภาพ 85.06/85.17&nbsp; สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด 75/75&nbsp;&nbsp; 2)&nbsp; ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาหลังเรียนด้วยชุดฝึกทักษะการปฏิบัติเครื่องดนตรีสมัยนิยมสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01&nbsp; 3)&nbsp; ความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการเรียนด้วยชุดฝึกทักษะการปฏิบัติเครื่องดนตรีสมัยนิยม สำหรับนักศึกษาคณะครุศาสตร์&nbsp; มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี อยู่ในระดับ มากที่สุด</p> อดินันท์ แก้วนิล, ขรรค์เพชร คำสัตย์ Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275094 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 ปัจจัยส่วนประสมการตลาดของผลิตภัณฑ์แปรรูปผ้า : นัยยะความต้องการของผู้บริโภค https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274889 <p>การวิจัยมีวัตถุประสงค์1) เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล พฤติกรรมการซื้อ และปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดในมุมมองของผู้บริโภคที่มีประสบการณ์ซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูปผ้า 2) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาศักยภาพการตลาดผู้ประกอบการ OTOP แปรรูปผ้า กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ที่มีประสบการณ์ซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูปจากผ้าทอ ระดับความเชื่อมั่นระดับนัยสำคัญ .05 จำนวน 400 ตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม</p> <p>ผลการวิจัย พบว่า ผู้บริโภคที่มีประสบการณ์ซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูปจากผ้าทอ ส่วนมากเป็นเพศหญิง มีอายุ</p> <p>31-40 ปี การศึกษาระดับปริญญาตรี อาชีพรับราชการ/รัฐวิสาหกิจ รายได้ 15,001-20,000 บาท มีพฤติกรรมการซื้อผลิตภัณฑ์แปรรูปจากผ้าเพื่อเป็นของใช้ส่วนตัว จำนวนน้อยกว่า 5 ผืน/ชิ้น/ชุด มีค่าใช้จ่ายในการซื้อน้อยกว่า 1,000 บาท และผู้บริโภคให้ความสำคัญด้านการส่งเสริมการตลาด มากกว่าด้านอื่น</p> <p>ส่วนผลการวิจัยศึกษาแนวทางการพัฒนาศักยภาพการตลาดผู้ประกอบการ OTOP แปรรูปผ้า พบว่า ควรกำหนดตลาดเป้าหมายเป็นกลุ่มตลาดเฉพาะ ตำแหน่งผลิตภัณฑ์เป็นผลิตภัณฑ์ทางเลือก ปรับปรุงพัฒนาผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ เพิ่มช่องทางการจำหน่ายออนไลน์เพื่ออำนวยความสะดวกการสืบค้นข้อมูล และการซื้อ</p> อนงค์วรรณ ชิณศรี, ศันสนีย์ แอมประชา, ฤทธิชัย ผานาค Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274889 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 การศึกษาปัญหาและอุปสรรคของกฎหมายและนโยบายที่เกี่ยวข้องกับมาตรการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยี https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/276367 <p>การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคของกฎหมายและนโยบายที่เกี่ยวข้องกับมาตรการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยี และเปรียบเทียบกฎหมายและนโยบายที่เกี่ยวข้องกับมาตรการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยีของประเทศไทยและต่างประเทศ เพื่อนำผลที่ได้จากการศึกษาวิจัยไปปรับปรุง แก้ไขปัญหาข้อกฎหมายและนโยบายที่เกี่ยวข้องกับมาตรการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยีของหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยเป็นการศึกษาวิจัยเชิงเอกสาร (Documentary Research) จากบทความวิจัย บทความวิชาการที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ เอกสารเผยแพร่ของหน่วยงานภาครัฐ เกี่ยวกับข้อกฎหมาย นโยบายการป้องกันและปราบปรามปัญหาอาชญากรรมทางเทคโนโลยีตามคำสั่งแต่งตั้งและของรัฐบาล ประกอบด้วย กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (MDES) สำนักงานตำรวจแห่งชาติ กรมสอบสวนคดีพิเศษ (DSI) และกองบัญชาการตำรวจสืบสวนสอบสวนอาชญากรรมทางเทคโนโลยี ตลอดจนแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับปัญหาและอุปสรรคของกฎหมายและนโยบายต่างๆ ที่นำมาใช้ในการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมทางเทคโนโลยีของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัย พบว่าปัญหาที่พบจากการบังคับใช้กฎหมายของเจ้าพนักงานที่เกี่ยวข้องกับพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560 ได้แก่ 1) มิได้กำหนดนิยามคำศัพท์ว่า “สแปม” มีความหมายอย่างไร เพียงแต่กำหนดประเภทของจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ไว้ 2 ประเภท คือ 1. จดหมายทางความสัมพันธ์ หรือทางธุรกรรม 2. จดหมายอิเล็กทรอนิกส์เพื่อการพาณิชย์ 2) การตีความและการบังคับใช้กฎหมายกรณีการนำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ต้องห้าม ตามมาตรา 14 มีองค์ประกอบของความผิดแตกต่างกัน โดยการนำข้อมูลเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ตามอนุสัญญาว่าด้วยอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (Convention on Cybercrime) นั้น การนำข้อมูลคอมพิวเตอร์เข้าสู่ระบบ (Input) เป็นการกระทำหนึ่งในองค์ประกอบความผิด แต่กฎหมายไม่เน้นองค์ประกอบเชิงเนื้อหาของข้อมูล (Content) มุ่งเน้นเอาผิดการกระทำต่อระบบคอมพิวเตอร์ จึงไม่ครอบคลุมไปถึงการเผยแพร่เนื้อหาข้อมูลเท็จในมิติอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกับการแสวงประโยชน์ทางทรัพย์สิน ซึ่งประเทศไทยมีการกำหนดเป็นความผิดและกำหนดโทษไว้หากมีการนำเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จและน่าจะเกิดความเสียหายต่อระบบคอมพิวเตอร์ที่ได้รับการคุ้มครองเป็นพิเศษ แต่กฎหมายก็มิได้กำหนดคำจำกัดความนิยามของถ้อยคำที่เป็นองค์ประกอบของความผิดไว้อย่างไร จึงทำให้เกิดการตีความไปในทางที่ต่างกันของผู้บังคับใช้กฎหมาย</p> ประดิษฐ์ จันทมูลตรี, ธันย์ธรณ์เทพ แย้มอุทัย, สุรชัย พ่วงชูศักดิ์ Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/276367 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 ผลการจัดการเรียนรู้ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ ตามหลักการออกแบบการเรียนรู้ที่เป็นสากล สำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ ในห้องเรียนการศึกษาพิเศษ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281638 <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการจัดการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ตามหลักการออกแบบการเรียนรู้ที่เป็นสากลที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสำหรับนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ ในห้องเรียนการศึกษาพิเศษ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มเป้าหมายคือนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ จำนวนทั้งหมด 12 คน ประกอบด้วย นักเรียนที่มีความบกพร่องทางด้านสติปัญญา ระดับปานกลาง จำนวน 4 คนและนักเรียนออทิสติก จำนวน 8 คน ที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566&nbsp; ห้องเรียนการศึกษาพิเศษ โรงเรียนเรียนรวม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย 1) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ แบบสำรวจสิ่งเสริมแรง และแบบสังเกตพฤติกรรม 2) เครื่องมือที่ใช้ในการปฏิบัติการ ได้แก่ แผนจัดการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ตามหลักการออกแบบการเรียนรู้ที่เป็นสากล จำนวน 4 แผน วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้สถิติเบื้องต้น ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ จากนั้นแสดงผลข้อมูลเป็นกราฟเส้น และเขียนบรรยายเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทุกคน หลังจากการจัดการเรียนรู้ตามหลักการออกแบบที่เป็นสากล นักเรียนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 ตามเกณฑ์ที่กำหนด</p> จินตนา สุริยพงศ์, วีรมลล์ โล้เจริญรัตน์ Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281638 Wed, 19 Feb 2025 00:00:00 +0700 การส่งเสริมครูเพื่อจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา อุบลราชธานี อำนาจเจริญ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275298 <p> การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการส่งเสริมครูเพื่อจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษในโรงเรียน 2) เปรียบเทียบการส่งเสริมครูเพื่อจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษในโรงเรียน จำแนกตามตำแหน่ง ประสบการณ์ในการทำงาน และขนาดสถานศึกษา และ 3) ศึกษาแนวทางการส่งเสริมครูเพื่อจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานี อำนาจเจริญ ตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานี อำนาจเจริญ ปีการศึกษา 2565 จำนวน 345 คน กลุ่มเป้าหมายที่ใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 2 คน ผู้อำนวยการเขตพื้นที่การศึกษา 1 คน โดยผู้วิจัยใช้วิธีเลือกแบบเจาะจง มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .99 และแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที</p> <p> ผลการวิจัยพบว่า</p> <ol> <li class="show">สภาพการส่งเสริมครูเพื่อจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานี อำนาจเจริญ โดยภาพรวมและรายด้าน อยู่ในระดับมาก</li> <li class="show">สภาพการส่งเสริมครูเพื่อจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานี อำนาจเจริญ ตามความคิดเห็นผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน จำแนกตามตำแหน่ง ประสบการณ์ในการทำงาน และขนาดสถานศึกษา พบว่า โดยภาพรวม ไม่แตกต่างกัน</li> <li class="show">แนวการส่งเสริมครูเพื่อจัดการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานี อำนาจเจริญ ได้แก่ 1) ด้านหลักสูตร ควรกำหนดแนวทางพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับบริบทสถานศึกษา โดยตระหนักถึงความสำคัญของภาษาอังกฤษ 2) ด้านการจัดการเรียนรู้ ควรจัดการอบรมเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษ เทคนิควิธีการสอน สนับสนุนการใช้เทคโนโลยี สื่ออุปกรณ์ที่ทันสมัยในการเรียนการสอน 3) ด้านการประเมินผลการเรียนรู้ ควรส่งเสริมการประเมินผลตามสภาพจริง การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ที่หลากหลาย 4) ด้านการนิเทศ กำกับ ติดตาม ควรมีระบบการนิเทศ กำกับดูแลและติดตามผลอย่างเป็นกัลยาณมิตรและต่อเนื่อง และ 5) ด้านการพัฒนาครูและบุคลากร ควรมีการจัดการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อเสริมศักยภาพครูอย่างต่อเนื่อง และสนับสนุนชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ</li> </ol> จิรวิชญ์ บุญมั่น, เศวตาภรณ์ ตั้งวันเจริญ, พงษ์ธร สิงห์พันธ์ Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275298 Wed, 19 Feb 2025 00:00:00 +0700 หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อสร้างยุทธศาสตร์บริหารความเสี่ยงของสำนักงานปลัดบัญชีกองทัพบก https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275378 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและค้นหาข้อมูลของสภาพบริบทการบริหารความเสี่ยงเพื่อเป็นปัจจัยข้อเสนอเชิงยุทธศาสตร์การบริหารความเสี่ยงตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของของสำนักงานปลัดบัญชีกองทัพบก และ เพื่อสร้างยุทธศาสตร์บริหารความเสี่ยงตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของสำนักงานปลัดบัญชีกองทัพบก รูปแบบการวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพและเป็นวิจัยอนาคตด้วยเทคนิคเดลฟายแนวทฤษฎีตามพื้นที่ 2 รอบ ด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก และแบบสอบถามที่พัฒนาจากฉันทามติที่ได้จากผู้เชี่ยวชาญภาครัฐและเอกชน จำนวน 18 คนและทั้งตามเกณฑ์ Thomas Macmillan (1971) และ Mary Bradford Ivey &amp; Allen E. Ivey (2008) ด้วยการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา มัธยฐาน ค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ จากการศึกษาพบว่า การปรับใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและศาสตร์พระราชา ก็คือ เข้าใจ เข้าถึง และพัฒน ากับการขับเคลื่อนเกณฑ์ PMQA 4.0 ต้องให้บรรลุผลลัพธ์ 6 ข้อ และการสร้าง Best practice ซึ่งผลการศึกษารวมทั้งการอภิปรายผลได้ 2 Best practice ของยุทธศาสตร์การบริหารความเสี่ยง คือ 1) Best practice การขับเคลื่อนเกณฑ์ PMQA 4.0 จากระดับ Basic ปรับใช้กับการเข้าใจ Advance ก้าวหน้า ปรับใช้กับการเข้าถึง และ Significant excellence การพัฒนาต่อเนื่องบรรลุผลลัพธ์ 6 ข้อ ตามแต่ละหมวด ทั้ง 7 หมวดของเกณฑ์ PMQA 4.0 และ Best practice การบรรลุผลลัพธ์การพัฒนาสู่การเป็นระบบราชการ 4.0</p> กรธัช กสิวัฒน์, ชยุต ภวภานันท์กุล Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275378 Wed, 19 Feb 2025 00:00:00 +0700 โมเดลสมการโครงสร้างของปัจจัยที่อิทธิพลต่อการเป็นโรงเรียนนวัตกรรมของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275299 <p>การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาโมเดลสมการโครงสร้างของปัจจัยที่อิทธิพลต่อการเป็นโรงเรียนนวัตกรรมของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารและครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวน 6 เขตพื้นที่การศึกษา จำนวน 330 คน สุ่มแบบหลายขั้นตอน ( Multi-stage Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ คุณภาพเครื่องมือมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.914 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและวิเคราะห์สถิติเชิงอนุมาน วิเคราะห์สมการโครงสร้าง (Structural Equation Modeling: SEM) โดยวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันและการวิเคราะห์เส้นทางด้วยโปรแกรม Mplus ผลการวิจัยพบว่า 1) โมเดลสมการโครงสร้างของปัจจัยที่อิทธิพลต่อการเป็นโรงเรียนนวัตกรรมของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ที่พัฒนาขึ้นประประกอบด้วย โรงเรียนนวัตกรรม ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมการทำงานเชิงนวัตกรรม การเสริมพลังอำนาจทางจิตวิทยา ทุกตัวแปรมีค่าเฉลี่ยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2) โมเดลสมการโครงสร้างของปัจจัยที่อิทธิพลต่อการเป็นโรงเรียนนวัตกรรมของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ที่พัฒนาขึ้น มีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยพิจารณาจากค่าสถิติ ดังนี้ Chi-square = 101.611, df = 81, p-value = 0.0605, χ 2 /df = 1.2544, CFI = 0.985, TLI = 0.981, RMSEA = 0.028, SRMR = 0.037 3) ตัวแปรแฝงที่มีอิทธิพลทางตรงต่อการเป็นโรงเรียนนวัตกรรม คือ ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหาร (TL) โดยมีขนาดอิทธิพลเท่ากับ 0.199 และ พฤติกรรมการทำงานเชิงนวัตกรรมของบุคลากร (IWB) มีขนาดอิทธิพล 0.678 4) ตัวแปรแฝงที่มีอิทธิพลทางอ้อมต่อการเป็นโรงเรียนนวัตกรรม คือ ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหาร (TL) โดยมีอิทธิพลทางอ้อมผ่านการเสริมพลังอำนาจทางจิตวิทยา (PE) และ พฤติกรรมการทำงานเชิงนวัตกรรมของบุคลากร (IWB) มีขนาดอิทธิพล เท่ากับ 0.355 และ มีขนาดอิทธิพลรวม เท่ากับ 0.554</p> วิณัฐธพัชร์ โพธิ์เพชร Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275299 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 การพัฒนาโมเดลการพัฒนาสมรรถนะด้านการวิจัยโดยใช้สุนทรียแสวงหาของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275491 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพสมรรถนะด้านการวิจัยโดยใช้สุนทรียแสวงหาของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 (2) พัฒนาโมเดลการพัฒนาสมรรถนะด้านการวิจัยโดยใช้สุนทรียแสวงหาของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 และ (3) สร้างคู่มือการพัฒนาสมรรถนะด้านการวิจัยโดยใช้สุนทรียแสวงหาของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 คณะผู้วิจัยใช้แนวคิดสุนทรียแสวงหามาประยุกต์ใช้ในกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสานวิธี ดำเนินการวิจัยกับ 2 โรงเรียน คือ โรงเรียนขนาดเล็กและโรงเรียนขนาดกลาง โดยแต่ละโรงเรียนดำเนินการ 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การสร้างสมรรถนะด้านการวิจัย และระยะที่ 2 การพัฒนาโมเดลสมรรถนะด้านการวิจัย ซึ่งแต่ละระยะมีกระบวนการดำเนินงาน 4 ขั้นตอนของสุนทรียแสวงหา ประกอบด้วย 1) การค้นหา (Discovery) 2) การสร้างฝัน (Dream) 3) การออกแบบ (Design) และ 4) การทำให้ถึงเป้าหมาย (Destiny) ผู้วิจัยดำเนินการเก็บข้อมูลด้วยวิธีการสังเกต สัมภาษณ์ และสนทนากลุ่ม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา</p> <p>ผลการวิจัยพบว่า</p> <ol> <li class="show">สภาพสมรรถนะด้านการวิจัยโดยใช้สุนทรียแสวงหาของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 ประกอบด้วย 5 สมรรถนะหลัก คือ 1) ด้านทักษะ 2) ด้านความรู้ 3) ด้านความเข้าใจเกี่ยวกับตนเอง 4) ด้านคุณลักษณะส่วนบุคคล และ 5) ด้านแรงจูงใจ ซึ่งผู้วิจัยนำมาพัฒนาทั้งสิ้น 16 สมรรถนะย่อย</li> <li class="show">โมเดลการพัฒนาสมรรถนะด้านการวิจัยโดยใช้สุนทรียแสวงหาของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ (GEAR Model) คือ 1) ร่วมตั้งเป้าหมาย (Goal setting) 2) ค้นหาประสบการณ์ (Esteem experiences) 3) คัดเลือกแนวทางที่ดี (Alternative selections) และ 4) สะท้อนผลการเรียนรู้ (Reflections on learning outcomes)</li> <li class="show">ผลสร้างคู่มือโมเดลการพัฒนาสมรรถนะด้านการวิจัยโดยใช้สุนทรียแสวงหาของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 1 ประกอบด้วย 1) ชื่อเรื่อง 2) เป้าหมาย 3) วัตถุประสงค์ 4) ประโยชน์ 5) ผู้ใช้งานคู่มือ 6) สื่อ อุปกรณ์และสถานที่ 7) บุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้อง 8) แนวคิดสำคัญ 9) กระบวนการขับเคลื่อน และ 10) กิจกรรมหลักและรายละเอียด</li> </ol> จุฬาพรรณภรณ์ ธนะแพทย์, กฤษดา ผ่องพิทยา, อัจฉรา ผ่องพิทยา Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275491 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 การพัฒนาระบบความช่วยเหลือพนักงานของบริษัทผลิตชิ้นส่วนยานยนต์แห่งหนึ่ง ในจังหวัดระยอง https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275486 <p>การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อออกแบบระบบความช่วยเหลือพนักงานและประเมินความเหมาะสมความเป็นไปได้ของระบบความช่วยเหลือพนักงานของบริษัทผลิตชิ้นส่วนยานยนต์แห่งหนึ่ง ในจังหวัดระยองการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน โดยเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ 1) แบบสัมภาษณ์เชิงลึกกลุ่มผู้ให้ข้อมูลคือพนักงานของบริษัท จำนวน 10 คน 2) แบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างคือ พนักงานของบริษัท จำนวน 230 คน และ 3) แบบคำถามในการสนทนากลุ่ม กลุ่มผู้สนทนากลุ่ม คือผู้บริหารของบริษัท จำนวน 7 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ</p> <p>ผลการวิจัยพบว่า 1) ปัญหาของพนักงาน สรุปได้ 2 ประเด็น คือ ประเด็นแรก ปัญหาที่เกี่ยวกับการทำงาน ได้แก่ ด้านโครงสร้างและกลยุทธ์ขององค์การ ด้านการโยกย้ายปรับเปลี่ยนผู้บริหารในฝ่าย ด้านลักษณะการทำงาน ด้านการทำงานเป็นทีม ด้านการบริหารจัดการทีม ด้านผู้บังคับบัญชา ด้านเพื่อนร่วมงาน ด้านระบบการทำงานใหม่และด้านสมดุลชีวิตการทำงานประเด็นที่สอง ปัญหาที่ไม่เกี่ยวกับการทำงาน ได้แก่ ด้านสุขภาพร่างกายสุขภาพจิตใจและพฤติกรรม ด้านครอบครัวและด้านการเงิน 2) พนักงานที่เป็นผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงอายุ31-35 ปีสถานภาพสมรส ระดับการศึกษาปริญญาตรีอายุงานต่ำกว่า 5 ปีปฏิบัติงานในสังกัดสายงานการผลิต และอยู่ในกลุ่มงานกระบวนการผลิต ซึ่งภาพรวมปัญหาของพนกังานทั้ง 2 ประเด็นมีความรุนแรงอยู่ในระดับน้อย โดย 3 อันดับแรกได้แก่ ด้านลักษณะการทำงาน ด้านการโยกย้ายปรับเปลี่ยนผู้บริหารในฝ่าย และด้านระบบการทำงานใหม่ ตามลำดับ ส่วนปัญหาเร่งด่วนที่พนักงานต้องการความช่วยเหลือ 3 อันดับแรกได้แก่ ด้านการเงิน ด้านสมดุลชีวิตการทำงาน และด้านการทำงานเป็นทีม ตามลำดับ 3) ผลการออกแบบระบบความช่วยเหลือพนักงาน ประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก่ ส่วนที่ 1 การเข้าร่วมระบบการช่วยเหลือพนักงาน มี 3 รูปแบบ คือ 1) โดยที่ปรึกษาภายในสถานประกอบการ 2) โดยผู้ให้บริการภายนอกและ 3) เข้าร่วมกิจกรรมความสุข 8 ประการและส่วนที่ 2 กิจกรรมการช่วยเหลือพนักงานเบื้องต้น และ 4) ผลการประเมินระบบความช่วยเหลือพนักงาน สรุปได้ว่า ระบบความช่วยเหลือพนักงาน มีความเหมาะสมและมีความเป็นไปได้ที่จะนำมาใช้กับพนักงานบริษัผลิตชิ้นส่วนยานยนต์แห่งหนึ่งในจังหวัดระยอง</p> ชนนิสา มหาวงศ์, ปรัชนันท์ เจริญอาภรณ์วัฒนา, สฎายุ ธีระวณิชตระกูล Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275486 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 ความต้องการจำเป็นของการพัฒนาครูโรงเรียนทวีธาภิเศก บางขุนเทียน ตามแนวคิดสมรรถนะการทำงานร่วมกันของครู https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274272 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการจําเป็นของการพัฒนาครูโรงเรียนทวีธาภิเศก บางขุนเทียนตามแนวคิดสมรรถนะการทำงานร่วมกันของครู ใช้วิธีการวิจัยเชิงบรรยาย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ค่าดัชนีความต้องการจําเป็น (PNI<sub>Modified</sub>) โดยมีผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้บริหารและครูโรงเรียนทวีธาภิเศก บางขุนเทียน จำนวน 79 คน ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพปัจจุบันของการพัฒนาครูโรงเรียนทวีธาภิเศก บางขุนเทียน ตามแนวคิดสมรรถนะการทำงานร่วมกันของครูอยู่ในระดับปานกลาง โดยสมรรถนะทางวิชาชีพ มีสภาพในการปฏิบัติในปัจจุบันมีค่าเฉลี่ยสูงสุดและด้านความเสมอภาคมีสภาพในการปฏิบัติในปัจจุบันมีค่าเฉลี่ยต่ำสุด สภาพที่พึงประสงค์ของการพัฒนาครูโรงเรียนทวีธาภิเศก บางขุนเทียน ตามแนวคิดสมรรถนะการทำงานร่วมกันของครู อยู่ในระดับมากที่สุด โดยด้านการสื่อสารมีค่าเฉลี่ยสูงสุด และด้านสมรรถนะทางวิชาชีพมีค่าเฉลี่ยต่ำสุด 2) ค่าดัชนีความต้องการจําเป็นของการพัฒนาครูโรงเรียนทวีธาภิเศก บางขุนเทียน ตามแนวคิดสมรรถนะการทำงานร่วมกันของครู โดยภาพรวม คือ 0.354 (PNI<sub>Modified</sub> = 0.354) เมื่อพิจารณาตามองค์ประกอบของสมรรถนะการทำงานร่วมกันของครู พบว่าด้านการสื่อสาร มีค่าความต้องการจําเป็นในการพัฒนาสูงสุด และด้านสมรรถนะทางวิชาชีพ มีค่าความต้องการจําเป็นในการพัฒนาต่ำสุด</p> เปมิกา นิยมอุดมวัฒนา, เพ็ญวรา ชูประวัติ Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274272 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 การพัฒนาบทเรียนไมโครเลิร์นนิงตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคำศัพท์ภาษาอังกฤษ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275410 <p> บทความวิจัยนี้เป็นการวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาบทเรียนไมโครเลิร์นนิงตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ซึ่งมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาบทเรียนไมโครเลิร์นนิงตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ให้มีคุณภาพระดับดีและประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบผลทดสอบก่อนเรียนและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังการเรียนรู้ด้วยบทเรียนไมโครเลิร์นนิงตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มเป้าหมายคือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสตรีอ่างทอง จำนวน 34 คน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ได้มาจากการเลือกแบบกลุ่ม เป็นการวิจัยเชิงทดลอง มีเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) บทเรียนไมโครเลิร์นนิงตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียคำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 2) แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3) แบบประเมินคุณภาพ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วยร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานและค่า t-test ผลการวิจัยพบว่า 1) บทเรียนไมโครเลิร์นนิงตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่ประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญแบ่งเป็นด้านเนื้อหา มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.63 และผู้เชี่ยวชาญด้านเทคนิค มีคุณภาพอยู่ในระดับดีมาก ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.54 และมีประสิทธิภาพ เท่ากับ 83.33/82.83 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ คือ 80/80 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังการเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01</p> ศุภลักษณ์ มูลนอก, สัญชัย พัฒนสิทธิ์, วัตสาตรี ดิถียนต์ Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275410 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 การประเมินความต้องการจำเป็นของครูเกี่ยวกับแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน ในกลุ่มโรงเรียนสหวิทยาเขตนวมินทร์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานครเขต 2 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275396 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อวิเคราะห์สภาพที่เป็นอยู่ของแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในกลุ่มโรงเรียนสหวิทยาเขตนวมินทร์ 2) เพื่อวิเคราะห์สภาพที่ควรจะเป็นแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของครูในกลุ่มโรงเรียนสหวิทยาเขตนวมินทร์ 3) เพื่อประเมินและจัดลำดับความต้องการจำเป็นของแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการครูโรงเรียนสหวิทยาเขตนวมินทร์ กลุ่มตัวอย่าง คือ ข้าราชการครูในโรงเรียนสหวิทยาเขตนวมินทร์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 2 จำนวนทั้งสิ้น 250 คน ซึ่งผู้วิจัยได้กำหนดขนาดตัวอย่าง (Sample Size) จากสูตรการหาขนาดของกลุ่มตัวอย่างของ Yamane (1973) โดยประมาณการกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด มีค่าความเชื่อมั่น 95% หรือมีค่าความคาดเคลื่อนที่ 0.05 เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประเมินค่า 5 ระดับ โดยศึกษาความต้องการจำเป็นของครูเพื่อการได้รับแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน จำนวน 3 องค์ประกอบ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ (frequency) ค่าร้อยละ (%) ค่าเฉลี่ย (<img title="\bar{x}" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\bar{x}">) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การวิเคราะห์ดัชนีความสำคัญของลำดับความต้องการจำเป็น (PNIModified)</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการประเมินความต้องการจำเป็นของครูเพื่อการได้รับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานโรงเรียนสหวิทยา เขตนวมินทร์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานครเขต 2 &nbsp;จากการวิจัยพบว่า มีค่าดัชนีลำดับความสำคัญของความต้องการจำเป็นอยู่ระหว่าง&nbsp; 0.20 - 0.26 ด้านที่มีบทบาทค่าดัชนีความต้องการจำเป็นเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษา (PNIModified = 0.26) อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมาคือด้านความสุขในการทำงาน (PNIModified = 0.22) และด้านแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน (PNIModified&nbsp;= 0.20) น้อยที่สุด ตามลำดับ</p> พชรคุณ จรุงคนธ์, สุดารัตน์ สารสว่าง, มีชัย ออสุวรรณ Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275396 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 ความสัมพันธ์ของบรรยากาศการปฏิบัติงานกับสมรรถนะสอนของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 1 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275250 <p>การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.) เพื่อศึกษาบรรยากาศการปฏิบัติงานในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร&nbsp; เขต 1 2.) เพื่อศึกษาสมรรถนะสอนของครูในสถานศึกษา&nbsp; สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร&nbsp; เขต 1 3.) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างบรรยากาศการปฏิบัติงานในสถานศึกษากับสมรรถนะการสอนของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร&nbsp; เขต 1 ตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน จำนวน 422 คน&nbsp;&nbsp; โดยใช้การสุ่มอย่างง่ายจากตารางสำเร็จรูปของ Krejcie &amp; Morgan เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมาตราสวนประมาณคา 5 ระดับ มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย&nbsp; ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยพบว่า</p> <ol> <li class="show">บรรยากาศการปฏิบัติงานในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 1&nbsp; โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก</li> <li class="show">สมรรถนะการสอนของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร&nbsp; เขต 1&nbsp; โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก</li> <li class="show">ความสัมพันธ์ระหว่างบรรยากาศการปฏิบัติงานในสถานศึกษากับสมรรถนะการสอนของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 1 พบว่า มีความสัมพันธ์เชิงบวก ในระดับต่ำ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ เท่ากับ .419</li> </ol> ดุลยวัฒน์ เทศะบำรุง, พีรญา ทองเฉลิม, สมฤทัย เตาจันทร์ Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275250 Wed, 19 Feb 2025 00:00:00 +0700 รูปแบบการสื่อสารในสถานศึกษาที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานข้าราชการครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275561 <p>การศึกษาวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับรูปแบบการสื่อสารในสถานศึกษาโรงเรียนมัธยมศึกษา 2) ศึกษาระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการครู 3) ศึกษารูปแบบการสื่อสารในสถานศึกษาที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการครู กลุ่มตัวอย่าง คือ ข้าราชการครูจำนวน 357 คน ที่ได้มาจากสุ่มการแบ่งชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบเกี่ยวกับรูปแบบการสื่อสารในสถานศึกษาและแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการครูซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.956 และ 0.965 ตามลำดับ สถิติการวิจัย ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ (Multiple regression analysis) แบบขั้นตอน (Stepwise Method) ผลการวิจัย พบว่า 1) รูปแบบการสื่อสารในสถานศึกษาโรงเรียนมัธยมศึกษา มีค่าเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับมาก 2) แรงจูงใจในการปฏิบัติงานข้าราชการครูโรงเรียนมัธยมศึกษา มีค่าเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับมาก 3) รูปแบบการสื่อสารในสถานศึกษาส่งผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการครูอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยรูปแบบการสื่อสารในสถานศึกษาสามารถพยากรณ์แรงจูงใจในการปฏิบัติงานครูได้ร้อยละ 55.9 (มีค่า R<sup>2</sup> = .559) ซึ่งรูปแบบการสื่อสารด้านล่างขึ้นสู่บนส่งผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานครูมากที่สุด และรูปแบบการสื่อสารแบบสุ่มมีความสัมพันธ์เชิงลบกับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานครู</p> พงศกร ดอนศรี, ทิพย์พาพร มหาสินไพศาล Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275561 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 การประเมินโครงการจัดการด้านความปลอดภัยแบบมีส่วนร่วมในสถานศึกษา โรงเรียนวัดภูเขาทอง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275268 <p>การประเมินโครงการจัดการด้านความปลอดภัยแบบมีส่วนร่วมในสถานศึกษา โรงเรียนวัดภูเขาทอง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1 มีวัตถุประสงค์เพื่อ1)ประเมินการดำเนินงานโครงการจัดการด้านความปลอดภัยแบบมีส่วนร่วมในสถานศึกษา&nbsp; ด้านปฏิกิริยา การเรียนรู้ พฤติกรรม และผลลัพธ์ในการดำเนินงาน 2)ศึกษาแนวทางการพัฒนาการดำเนินงานโครงการจัดการด้านความปลอดภัยแบบมีส่วนร่วมในสถานศึกษา&nbsp; กลุ่มตัวอย่างเชิงปริมาณคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่6 จำนวน 60 คน&nbsp; กลุ่มตัวอย่างเชิงคุณภาพคือ ผู้บริหาร 1 คน ผู้รับผิดชอบโครงการ 1 คน ครู 3 คน นักเรียน&nbsp; 5 คน โดยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง รวมทั้งสิ้น 10 คน ใช้รูปแบบการประเมินแบบเคิร์กแพทริค (Kirkpatrick Model) ของ โดนัลด์ แอล เคิร์กแพทริค (Donald L. Kirkpatrick) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นที่ 0.91 และแบบสัมภาษณ์เชิงลึก สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและค่าร้อยละ ผลการวิจัยพบว่า 1.ประสิทธิผลของการดำเนินงานโครงการจัดการด้านความปลอดภัยแบบมีส่วนร่วมในสถานศึกษา โรงเรียนวัดภูเขาทอง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1 ด้านปฏิกิริยา ด้านการเรียนรู้ ด้านพฤติกรรม และด้านผลลัพธ์ โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยด้านปฏิกิริยา ข้อที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือ ระยะเวลาในการอบรมมีความเหมาะสม รองลงมาคือ การอบรมมีการอธิบายและสาธิตได้อย่างถูกต้องและเข้าใจง่าย และวัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ในการดำเนินโครงการเพียงพอเหมาะสมต่อการจัดกิจกรรมตามโครงการมีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ด้านการเรียนรู้ข้อที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือนักเรียนรู้วิธีการป้องกันและเอาตัวรอดจากอัคคีภัย รองลงมาคือนักเรียนมีความมั่นคงทางอารมณ์และสามารถควบคุมอารมณ์ขณะเกิดเหตุความไม่ปลอดภัยในการขับขี่ และนักเรียนตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกันยาเสพติดมีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ด้านพฤติกรรม ข้อที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือนักเรียนจะตักเตือนผู้อื่นให้ตระหนักถึงความสำคัญของอัคคีภัย รองลงมาคือนักเรียนมีความละเอียดรอบคอบในชีวิตประจำวันมากขึ้น และนักเรียนตระหนักถึงความสำคัญในการป้องกันยาเสพติด นักเรียนรู้วิธีขับขี่ปลอดภัย มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ด้านผลลัพธ์ข้อที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือ นักเรียนเข้าร่วมรณรงค์เพื่อป้องกันอุบัติเหตุจากท้องถนน รองลงมาคือสถิติปัญหาเกี่ยวกับยาเสพติดภายในโรงเรียนลดลง และนักเรียนถ่ายทอดความรู้เรื่องความปลอดภัยด้านอัคคีภัยไปยังเพื่อน ผู้ปกครองและบุคคลอื่นได้มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด 2. แนวทางการพัฒนาโครงการจัดการด้านความปลอดภัยแบบมีส่วนร่วมในสถานศึกษาโรงเรียนวัดภูเขาทอง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎร์ธานี เขต 1 ด้านปฏิกิริยาเพิ่มวัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้ในการดำเนินโครงการให้เพียงพอโดยขอความอนุเคราะห์จากหน่วยงานภายนอก เอกสารประกอบการอบรมต้องมีองค์ความรู้ครบถ้วน อ่านง่าย ภาพสีสันสวยงาม ด้านการเรียนรู้ ควรยกตัวอย่างกรณีศึกษาและแนะแนวทางวิธีการปฏิบัติตัวเมื่ออยู่ในสถานการณ์ความเสี่ยงต่อปัญหายาเสพติด อัคคีภัย และการขับขี่ปลอดภัย ด้านพฤติกรรม ฝึกให้นักเรียนกล้าปฎิเสธต่อสิ่งที่คาดว่าจะนำไปสู่ยาเสพติด ฝึกให้นักเรียนเตรียมความพร้อมในการรับมือเมื่อเกิดเหตุไฟไหม้ และปฏิบัติตามแผนฉุกเฉินเมื่อเกิดอัคคีภัย ด้านขับขี่ปลอดภัยปลูกฝังให้นักเรียนมีระเบียบวินัยและเคารพกฎจราจร ด้านผลลัพธ์สร้างความตระหนักในการรักษาความปลอดภัยและสร้างมาตรการรายงานเหตุการณ์ต่อผู้บังคับบัญชาอย่างฉับไว</p> กัลยา กกแก้ว, จุติพร อัศวโสวรรณ, นพรัตน์ ชัยเรือง Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275268 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 การศึกษากลยุทธ์การบริหารตามโครงสร้างซีท (SEAT Framework) “พหุกรณีศึกษาโรงเรียนต้นแบบเรียนรวม” สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281658 <p>การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์และความต้องการจำเป็นกลยุทธ์การบริหารตามโครงสร้างซีท (SEAT Framework) โรงเรียนเรียนรวม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 2) เพื่อศึกษากลยุทธ์การบริหารตามโครงสร้างซีท (SEAT Framework) โรงเรียนต้นแบบเรียนรวม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน รวมทั้งสิ้น จำนวน 123 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ และแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้างผู้ให้ข้อมูล จำนวน 8 คน ผลการวิจัยพบว่า สภาพปัจจุบันโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากทุกด้าน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ด้านกิจกรรมการเรียนการสอน (A-Activities) สภาพที่พึงประสงค์กลยุทธ์การบริหารตามโครงสร้างซีท (SEAT Framework) โรงเรียนเรียนรวม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ด้านนักเรียน (S-Student) การจัดลำดับความต้องการจำเป็นกลยุทธ์การบริหารตามโครงสร้างซีท (SEAT Framework) โรงเรียนเรียนรวม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 2 พบว่า ด้านนักเรียน (S-Student)&nbsp; เป็นลำดับที่ 1</p> บุษยากร ขอห้องกลาง, สุชาดา บุบผา Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281658 Wed, 19 Feb 2025 00:00:00 +0700 ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษากับ ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษา อำเภอเขาพนม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากระบี่ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275616 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา 2) ศึกษาระดับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษา 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษา 4) ศึกษาตัวแปรพยากรณ์ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษา อำเภอเขาพนม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากระบี่ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูในสถานศึกษา อำเภอเขาพนม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากระบี่ จำนวน 148 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ 0.990 วิเคราะห์ข้อมูล โดยการแจกแจงความถี่ หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัย พบว่า 1) ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา อำเภอเขาพนม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากระบี่ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2) ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษา อำเภอเขาพนม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากระบี่ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด 3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิผลการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษา อำเภอเขาพนม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากระบี่ โดยภาพรวมมีความสัมพันธ์ในทางบวก&nbsp;&nbsp; อยู่ในระดับสูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 4) ตัวแปรพยากรณ์ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา ด้านการทำงานเป็นทีมและมีส่วนร่วมและด้านการบริหารความเสี่ยง ร่วมกันพยากรณ์ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของครูในสถานศึกษา อำเภอเขาพนม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากระบี่ ได้ร้อยละ 60.5 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001</p> เกียรติศักดิ์ พ่วงคง, พระครูวินัยธรวุฒิชัย ชยวุฑฺโฒ เพ็ชรทองมา, สุภัทรา ภูษิตรัตนาวลี Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275616 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารที่ส่งผลต่อความเป็นองค์กรสมรรถนะสูงของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาตรัง กระบี่ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274785 <p> การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหาร, 2) ศึกษาความเป็นองค์กรสมรรถนะสูงของสถานศึกษา, 3) ศึกษาภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารที่ส่งผลต่อความเป็นองค์กรสมรรถนะสูงของสถานศึกษา และ 4) เพื่อศึกษาแนวทางพัฒนาภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารส่งผลต่อความเป็นองค์กรสมรรถนะสูงของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาตรัง กระบี่ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน จำนวน 424 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นโดยการวิเคราะห์ด้วยวิธีการหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบัคได้ค่าเท่ากับ 0.972 และแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณ และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1) ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารโดยรวมอยู่ในระดับมาก, 2) ความเป็นองค์กรสมรรถนะสูงของสถานศึกษาโดยรวมอยู่ในระดับมาก, 3) ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารที่ส่งผลต่อความเป็นองค์กรสมรรถนะสูงของสถานศึกษา ได้แก่ ด้านวิสัยทัศน์ ด้านจินตนาการ และด้านการทำงานเป็นทีม ที่ระดับนัยสําคัญทางสถิติ .01 และ 4) แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารที่ส่งผลต่อความเป็นองค์กรสมรรถนะสูงของสถานศึกษา พบว่า ผู้บริหารสถานศึกษาควรให้ความสำคัญกับการทำงานเป็นทีม ทุกคนในองค์กรควรได้รับโอกาสในกำหนดเป้าหมายและวัตถุประสงค์ในการทำงานร่วมกัน และผู้บริหารควรสนับสนุนให้บุคลากรมีส่วนร่วมในการกำหนดบทบาทของตนเอง เพื่อนร่วมงาน และทิศทางการดำเนินงานของสถานศึกษา</p> เปรมอนันต์ เจือกโว้น, จุติพร อัศวโสวรรณ, นพรัตน์ ชัยเรือง Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274785 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 การประเมินโครงการส่งเสริมความเป็นเลิศทางด้านกีฬาวอลเลย์บอล โรงเรียนสตรีพัทลุง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา พัทลุง https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275344 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินปฏิกิริยาตอบสนอง &nbsp;2) ประเมินการเรียนรู้ทักษะพื้นฐานการเล่นกีฬาวอลเลย์บอล 3) ประเมินพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงหลังการอบรม 4) ประเมินผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นต่อสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่างเชิงปริมาณได้แก่นักเรียน ซึ่งเป็นนักกีฬาวอลเลย์บอลของโรงเรียน จำนวน 16 คน โดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง และกลุ่มตัวอย่างเชิงคุณภาพ คือผู้บริหารสถานศึกษา 1 คน ผู้รับผิดชอบโครงการ 1 คน ครู 5 คน และนักเรียน 5 คน รวมทั้งสิ้นจำนวน 12 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเชิงปริมานเป็นแบบสอบถาม&nbsp;&nbsp; มาตราส่วนประมานค่า 5 ระดับ มีค่าความเชื่อมั่น 0.91 กลุ่มตัวอย่างเชิงคุณภาพเป็นแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา</p> <p>ผลการวิจัยพบว่า</p> <ol> <li class="show">ผลการประเมินโครงการส่งเสริมความเป็นเลิศทางด้านกีฬาวอลเลย์บอลโรงเรียนสตรีพัทลุง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพัทลุง โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุดทั้ง 4 ด้าน โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านผลลัพธ์ รองลงมาคือ ด้านการเรียนรู้ ด้านปฏิกิริยา และด้านพฤติกรรม มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด ด้านผลลัพธ์มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือ โครงการส่งเสริมความเป็นเลิศทางด้านกีฬาวอลเลย์บอลมีความเหมาะสมกับบริบทของโรงเรียน ด้านการเรียนรู้มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือ นักเรียนมีความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติและกติกาวอลเลย์บอลมากขึ้น ด้านปฏิกิริยามีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือ ผลที่คาดว่าจะได้รับจากการเข้าร่วมการอบรม และด้านพฤติกรรม มีค่าเฉลี่ยมากที่สุดคือนักเรียนสามารถเล่นลูกสองมือล่างได้อย่างถูกต้อง</li> <li class="show">แนวทางการส่งเสริมความเป็นเลิศทางด้านกีฬาวอลเลย์บอลโรงเรียนสตรีพัทลุง คือ กิจกรรมนันทนาการเพื่อกระตุ้นให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความสุข ยกย่องเชิดชูเกียรติแก่นักกีฬาที่สามารถคว้ารางวัลทั้งระดับภาคและระดับประเทศสู่โรงเรียน และผู้บริหารควรสนับสนุนจัดกิจกรรมส่งเสริมให้นักเรียนได้เข้าร่วมพัฒนาและเข้าร่วมการแข่งขันอย่างต่อเนื่อง เชิญชวนโรงเรียนประถมศึกษาหรือโรงเรียนอื่นๆที่มีความสนใจเข้าร่วมโครงการเพื่อได้พัฒนาต่อยอดสู่ความเป็นเลิศต่อไป</li> </ol> ธราทิพย์ ยอดราช, จุติพร อัศวโสวรรณ, วีระยุทธ ชาตะกาญจน์ Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275344 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษากับการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา กลุ่มกรุงเทพเหนือ สังกัดกรุงเทพมหานคร https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275617 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มกรุงเทพเหนือ สังกัดกรุงเทพมหานคร 2) เพื่อศึกษาการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา กลุ่มกรุงเทพเหนือ สังกัดกรุงเทพมหานคร 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษากับการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา กลุ่มกรุงเทพเหนือ สังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูในสถานศึกษา กลุ่มกรุงเทพเหนือ สังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 339 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ ด้วยค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน</p> <p>ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษากลุ่มกรุงเทพเหนือ สังกัดกรุงเทพมหานคร โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก 2) การดำเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา กลุ่มกรุงเทพเหนือ สังกัดกรุงเทพมหานคร โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด 3) ภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษามีความสัมพันธ์กันทิศทางบวกกับการดำเนินงานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา กลุ่มกรุงเทพเหนือ สังกัดกรุงเทพมหานคร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01</p> พรรณิดา ภูมิลักษณ์, นิษฐ์สินี กู้ประเสริฐ, วิเชียร อินทรสมพันธ์ Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275617 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 การมีส่วนร่วมของครูที่ส่งผลต่อการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายใน โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275591 <p> บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับการมีส่วนร่วมของครูโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 2 2) ศึกษาระดับการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 2 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการมีส่วนร่วมของครูที่ส่งผลต่อการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 2 4) ศึกษาค้นคว้าตัวแปรพยากรณ์ที่ใช้ในการพยากรณ์การมีส่วนร่วมของครูที่ส่งผลต่อการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราชเขต 2 ผลการวิจัยพบว่า1) ระดับการมีส่วนร่วมของครู โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุดโดยด้านการมีส่วนร่วมในการวางแผน มีค่าเฉลี่ยสูงสุด และด้านการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด2) ระดับการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายใน โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด ด้านจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษามีค่าเฉลี่ยสูงสุดและด้านประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษามีค่าเฉลี่ยต่ำสุด3) ความสัมพันธ์ระหว่างการมีส่วนร่วมของครูกับการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ของครูผู้สอนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 โดยภาพรวมมีความสัมพันธ์ในทางบวกอยู่ในระดับสูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.014) ตัวแปรพยากรณ์การมีส่วนร่วมของครูด้านการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน และด้านการมีส่วนร่วมในการวางแผน สามารถร่วมกันพยากรณ์การดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายใน โรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2ได้ร้อยละ 51.1 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ0.01 สามารถนำมาสร้างสมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบได้ = 1.532 + .221(x<sub>2</sub>) + .449(x<sub>1</sub>)และสมการพยากรณ์ โดยใช้คะแนนมาตรฐานได้ = .271(x<sub>2</sub>) + .560(x<sub>1</sub>)</p> ฐาปนพงศ์ พันธุวงษ์, บุญส่ง ทองเอียง, พระครูวินัยธรวุฒิชัย ชยวุฑฺโฒ เพ็ชรทองมา Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275591 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 การจัดการเรียนการสอนออนไลน์ต่อการส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัยตามแนวคิดของบลูม ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281659 <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; &nbsp;การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ของครูผู้สอนโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 ต่อระดับการส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัยตามแนวคิดของบลูม กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างจากตารางสำเร็จรูปของเครจซี่และมอร์แกน ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 % ได้กลุ่มตัวอย่างครูผู้สอน จำนวน 361 คน ใช้วิธีสุ่มกลุ่มตัวอย่างขั้นแรกแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) และสุ่มตัวอย่างแบบง่ายตามสัดส่วนประชากรแต่ละโรงเรียน (Proportional simple random sampling) ได้แบบสอบถามฉบับสมบูรณ์ 370 ฉบับ เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถามชนิดแบบตรวจสอบรายการ (Check list) มีค่าความสอดคล้องอยู่ระหว่าง 0.80 - 1.00 และค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.98 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าร้อยละ ผลการศึกษาพบว่า โดยภาพรวมครูผู้สอนส่วนใหญ่มีความคิดเห็นว่าการจัดการเรียนการสอนออนไลน์สามารถส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัยตามแนวคิดของบลูม ทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับประยุกต์ใช้และระดับเข้าใจ โดยครูผู้สอนส่วนน้อยมีความคิดเห็นว่าสามารถส่งเสริมการเรียนรู้ระดับคิดสร้างสรรค์ เมื่อจำแนกรายด้าน พบว่า 1. ด้านกลวิธีและกิจกรรมการเรียนการสอน พบว่า จุดประสงค์การเรียนรู้ที่ครูกำหนดในการสอนออนไลน์ สามารถส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัยของผู้เรียนในระดับประยุกต์ใช้ในระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 34.05 2. ด้านผู้สอนและผู้เรียน พบว่า ทักษะการสอนออนไลน์ของครูส่งผลให้ผู้เรียนสามารถส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัยของผู้เรียนในระดับเข้าใจในระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 31.08 3. ด้านระบบเครือข่ายเทคโนโลยีออนไลน์ พบว่า โปรแกรมการวัดและประเมินผลของครูที่ใช้ในการเรียนการสอนออนไลน์ทำให้ผู้เรียนสะดวกจนสามารถส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัยของผู้เรียนระดับประยุกต์ใช้ในระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 30.75 4. ด้านการสนับสนุนของผู้บริหาร พบว่า การจัดหาสิ่งสนับสนุนของผู้บริหารเกี่ยวกับการสอนออนไลน์สามารถส่งเสริมการเรียนรู้ด้านพุทธิพิสัยของผู้เรียนระดับประยุกต์ใช้ในระดับมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 30.24</p> จินดานุวรรธน์ บำรุงเจริญสุข, สมศักดิ์ เอี่ยมคงสี Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281659 Wed, 19 Feb 2025 00:00:00 +0700 การศึกษาผลของการใช้โปรแกรมการปรับพฤติกรรมทางปัญญาโดยการใช้แนวคิดการฝึกพูดเชิงบวกที่ส่งผลต่อกรอบความคิดแบบเจริญเติบโตของนิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274902 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างโปรแกรมการปรับพฤติกรรมทางปัญญาโดยการใช้แนวคิดการฝึกพูดเชิงบวก ที่ส่งผลต่อกรอบความคิดแบบเจริญเติบโต และเพื่อศึกษาผลของการใช้โปรแกรมการปรับพฤติกรรมทางปัญญาโดยการใช้แนวคิดการฝึกพูดเชิงบวกที่ส่งผลต่อกรอบความคิดแบบเจริญเติบโต เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ นิสิตระดับปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปีการศึกษา 2566 เป็นนิสิตที่ลงทะเบียนในรายวิชาเลือกของสาขาจิตวิทยาและการแนะแนว คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ภาคปลาย ในปีการศึกษา 2566 จำนวน 16 คน ผู้วิจัยเลือกกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 4 คน&nbsp;จาก 1 หมู่เรียน ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย 1) เครื่องมือในการทดลอง คือ กิจกรรมโปรแกรมการปรับพฤติกรรมทางปัญญา ที่มีค่าความสอดคล้อง (IOC) ระหว่าง 0.67 -1.00 2) เครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วยข้อมูล 4 ชุด คือ แบบวัดกรอบความคิดแบบเจริญเติบโต ที่มีค่าความสอดคล้อง (IOC) ระหว่าง 0.67 -1.00 และค่าความเชื่อมั่นของแบบวัดเท่ากับ .95 แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบบันทึกการเรียนรู้ และแบบสัมภาษณ์ ที่มีค่าความสอดคล้อง (IOC) ระหว่าง 0.67 -1.00 &nbsp;วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า IOC ค่าสถิติ Willcoxon matched – pairs sign-ranks test และวิเคราะห์เนื้อหาจากแบบบันทึกการเรียนรู้และแบบสัมภาษณ์นิสิต</p> <p>ผลการวิจัยพบว่า 1) นิสิตกลุ่มตัวอย่างที่เข้าร่วมกิจกรรมการใช้โปรแกรมการฝึกพูดเชิงบวกมีระดับกรอบความคิดแบบเจริญเติบโตในระยะหลังทดลองสูงกว่าก่อนทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2)&nbsp;ภายหลังการเข้าร่วมกิจกรรมนิสิตกลุ่มทดลองมีระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก</p> ณิชชากร เกียรติทนง, ปวีณา อ่อนใจเอื้อ, มนัสนันท์ หัตถศักดิ์ Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274902 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 รูปแบบเครือข่ายชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพครูวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์ โรงเรียนสังกัดเทศบาลนครสงขลา https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275193 <p> การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบเครือข่ายชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพครูวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ของโรงเรียนเทศบาลนครสงขลา และ 2) ศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบเครือข่ายชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพครูวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ของโรงเรียนเทศบาลนครสงขลา จำนวน 5 โรงเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ 2) แบบทดสอบสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ 3) แบบสอบถามความพึงพอใจของชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ 4) แบบสัมภาษณ์ผู้บริหารและครู และ 5) แบบบันทึกการสนทนากลุ่มเพื่อสะท้อนคิดการดำเนินงาน</p> <p> ผลการวิจัย พบว่า โรงเรียนสังกัดเทศบาลนครสงขลา มีการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพครู 7 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การลงนามทำความร่วมมือการพัฒนา 2) การให้ความรู้และสร้างความตระหนัก 3) การกำหนดเป้าหมายการพัฒนาผู้บริหาร ครูผู้สอน และนักเรียน 4) การออกแบบกิจกรรมเชิงรุกเพื่อการพัฒนาคุณภาพนักเรียน 5) การเปิดชั้นเรียนและสังเกตชั้นเรียน 6) การสะท้อนคิดหลังเปิดชั้นเรียน และ 7) การประชุมสะท้อนผลการพัฒนา ทั้งนี้หลังจากโรงเรียนสังกัดเทศบาลนครสงขลาได้เข้าร่วมการพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพครู (PLC) ได้ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นใน 3 ด้าน ได้แก่ ด้านผู้บริหารสถานศึกษา ด้านครูผู้สอนและเพื่อนครู และด้านนักเรียน พบว่า ผู้บริหารสถานศึกษามีความเป็นผู้นำวิชาการมากขึ้น ให้ความสำคัญและสามารถบริหารการขับเคลื่อนกิจกรรม PLC ให้เป็นไปตามกิจกรรมที่กำหนดร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ ครูผู้สอนและเพื่อนครู พบว่า ครูผู้สอนมีการทำงานเป็นทีมมากขึ้น สามารถปรับเปลี่ยนการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) มีทัศนคติที่ดีและยอมรับการปรับเปลี่ยนวิธีการจัดการเรียน<br />การสอนผ่านการชี้แนะบทเรียนร่วมกัน นักเรียน พบว่า มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน มีความสนใจเข้าร่วมกิจกรรม กล้าแสดงออก กล้าแสดงความคิดเห็น มีทักษะการอภิปรายและการสรุปความเพิ่มมากขึ้น</p> พัศรเบศวณ์ เวชวิริยะสกุล, เกศริน บินสัน, ชัชวีร์ แก้วมณี, ชวนพิศ ชุมคง Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275193 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรมพื้นที่การเรียนรู้ เพื่อสร้างเสริมทักษะ แห่งศตวรรษที่ 21 ที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของประชาชน ในเขตเทศบาลเมืองหัวหิน https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275199 <p> การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการพัฒนาทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ของประชาชนในชุมชนพูลสุขในเขตเทศบาลเมืองหัวหิน อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ 2) ออกแบบและพัฒนาหลักสูตร พื้นที่การเรียนรู้และนวัตกรรมการเรียนรู้ เพื่อสร้างเสริมทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของประชาชนในชุมชนพูลสุขในเขตเทศบาลเมืองหัวหิน อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ และ 3) ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตและพัฒนาทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ของประชาชนในชุมชนพูลสุขในเขตเทศบาลเมืองหัวหิน อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการวิจัยเป็นประชาชน 3 กลุ่ม ได้แก่ วัยเรียน วัยทำงาน และผู้สูงอายุ เครื่องมือที่ใช้<br />ในการวิจัย ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ และแบบบันทึกการสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยใช้การพรรณนาวิเคราะห์</p> <p>ผลการศึกษา พบว่า</p> <ol> <li class="show">ผลการศึกษาความต้องการพัฒนาทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 พบว่า กลุ่มเป้าหมายทั้ง 3 กลุ่ม มีความต้องการที่จะพัฒนาทักษะการใช้เครื่องมือออนไลน์ และต้องการพัฒนาทักษะอาชีพจากทุนวัฒนธรรม และทุนทางสังคมที่มีอยู่ในชุมชนพูลสุข เขตเทศบาลเมืองหัวหิน</li> <li class="show">ผลการออกแบบและพัฒนาหลักสูตร พื้นที่การเรียนรู้และนวัตกรรมการเรียนรู้<br />เพื่อสร้างเสริมทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 พบว่า มีความต้องการให้พัฒนาหลักสูตรทักษะใหม่ หลักสูตรทักษะอาชีพ และพัฒนาพื้นที่การเรียนรู้ในชุมชนพูลสุขและชุมชนใกล้เคียง เพื่อเป็นพื้นที่การเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมของเมืองหัวหินและต่อยอดสู่แหล่งท่องเที่ยวชุมชน</li> <li class="show">ผลการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตและพัฒนาทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 พบว่า กลุ่มเป้าหมายได้รับการส่งเสริมการเรียนรู้ ผ่านหลักสูตรการเรียนรู้ทั้ง 2 หลักสูตร และมีการยกระดับพื้นที่การเรียนรู้ใน 7 แห่ง ของชุมชนพูลสุขและชุมชนใกล้เคียงสู่การพัฒนาเป็นเส้นทางท่องเที่ยว เพื่อสร้างงานและสร้างรายได้ให้ชุมชน</li> </ol> อภินันท์ สิริรัตนจิตต์, เกศริน บินสัน, ศิวัช บุญเกิด, ฉัตรจงกล ตุลยนิษกะ, จิรวัฒน์ นนทิการ Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275199 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 ความสุขในการเรียนรู้ในรายวิชาการจัดการเรียนรู้ภาษาไทยระดับประถมศึกษา ของนิสิตระดับปริญญาตรี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275201 <p> การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความสุขในการเรียนรู้ ในรายวิชาการจัดการเรียนรู้ภาษาไทยระดับประถมศึกษาของนิสิตระดับปริญญาตรี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ กลุ่มเป้าหมายเป็นนิสิตระดับปริญญาตรี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 ที่ลงทะเบียนในรายวิชา 0303323 การจัดการเรียนรู้ภาษาไทยระดับประถมศึกษา ในหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2565 ส่วนเนื้อหาที่ใช้ในการวิจัยเกี่ยวกับความสุขในการเรียนรู้ โดยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามเรื่อง ความสุขในการเรียนรู้ ในรายวิชาการจัดการเรียนรู้ภาษาไทยระดับประถมศึกษา ได้ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลหลังจัดการเรียนการสอนครบจำนวน 15 สัปดาห์ ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลนั้น ได้วิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าสถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน </p> <p> ผลการวิจัย พบว่า ความสุขในการเรียนรู้ ในรายวิชาการจัดการเรียนรู้ภาษาไทยระดับประถมศึกษาของนิสิตระดับปริญญาตรี คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ ในภาพรวม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด (4.62) และเมื่อจำแนกรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน </p> อภินันท์ สิริรัตนจิตต์, เกศริน บินสัน, ชัชวีร์ แก้วมณี, วิทวัฒน์ ขัตติยะมาน, กิตติธัช คงชะวัน Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275201 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 การศึกษาองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ความเป็นนวัตกรของครู https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275779 <p> การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ความเป็นนวัตกรของครูในโรงเรียน การดำเนินการวิจัย แบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง จำนวน 11 แหล่ง เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสังเคราะห์องค์ประกอบความเป็นนวัตกรของครูในโรงเรียน ใช้สถิติความถี่และร้อยละ ขั้นตอนที่ 2 การประเมินความเหมาะสมองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ของความเป็นนวัตกรของครูในโรงเรียน กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประมาณค่าชนิด 5 ระดับ ใช้สถิติค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน</p> <p>ผลการวิจัยพบว่า ความเป็นนวัตกรของครูในโรงเรียน ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ 20 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ (1) การสังเกต ประกอบด้วย 3 ตัวบ่งชี้ (2) การการตั้งคำถาม ประกอบด้วย 3 ตัวบ่งชี้ (3) การสร้างเครือข่าย ประกอบด้วย 4 ตัวบ่งชี้ (4) การคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ประกอบด้วย 4 ตัวบ่งชี้ (5) การทดลอง ประกอบด้วย 3 ตัวบ่งชี้ (5) การเชื่อมโยง ประกอบด้วย 3 ตัวบ่งชี้ โดยทุกองค์ประกอบมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากและระดับมากที่สุด และตัวบ่งชี้ในภาพรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด</p> จุฑารัตน์ สุขสบาย , วาโร เพ็งสวัสดิ์, พรเทพ เสถียรนพเก้า Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275779 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 แนวทางการบริหารโรงเรียนคุณภาพระดับประถมศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 4 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275736 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบ 2) ออกแบบและประเมินแนวทางการบริหารโรงเรียนคุณภาพระดับประถมศึกษา การดำเนินการวิจัยและออกแบบ แบ่งออกเป็น 2 ระยะ โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) คือ การศึกษาองค์ประกอบ และออกแบบแนวทาง ของกลุ่มตัวอย่างจากสถานศึกษาที่เป็นที่ยอมรับและเป็นแบบวิธีปฏิบัติที่ดี (Best Practice) ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษาและครู รวมจำนวน 6 คน โดยการสุ่มแบบชั้นภูมิ การวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์ และแบบประเมินแนวทาง เพื่อนำข้อมูลที่ได้จากแบบสัมภาษณ์มาวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันจากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 ท่าน ประเมินความเหมาะสม ความเป็นไปได้ ของแนวทางการบริหารโรงเรียนคุณภาพระดับประถมศึกษา จากการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า</p> <ol> <li class="show">องค์ประกอบการบริหารโรงเรียนคุณภาพระดับประถมศึกษา มี 6 องค์ประกอบ คือ 1) ด้านสภาพแวดล้อม 2) ด้านผู้บริหารมีภาวะผู้นำ และ 3) ด้านการมีส่วนร่วม 4) ด้านการประกันคุณภาพ 5) ด้านการเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และ 6) ด้านการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ค่าเฉลี่ยความเหมาะสมขององค์ประกอบภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด</li> <li class="show">ออกแบบและประเมินแนวทางการบริหารโรงเรียนคุณภาพระดับประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 4 ได้ทั้งหมด 6 ด้าน 50 แนวทาง และประเมินแนวทางที่ได้จากการออกแบบได้ผลว่า ด้านความเหมาะสมมีค่าอยู่ในระดับมากที่สุด และด้านความเป็นไปได้มีค่าอยู่ในระดับมากที่สุด</li> </ol> ปัณณวิชญ์ โฆษิตเจริญรัตน์, พัชรินทร์ ชมภูวิเศษ, ธีระพล เพ็งจันทร์ Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275736 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 การถ่ายทอดความรู้ในการใช้งานระบบข้อมูลประจำตัวสำหรับแมวด้วยเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275622 <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ถ่ายทอดความรู้ และ 2) ประเมินความพึงพอใจในการถ่ายทอดความรู้ในการใช้งานระบบข้อมูลประจำตัวสำหรับแมวด้วยเทคโนโลยี คิวอาร์โค้ด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้เลี้ยงแมวในจังหวัดสุรินทร์ จำนวน 35 คน โดยการประชาสัมพันธ์ในการเข้าร่วมการถ่ายทอดความรู้ในการใช้งานระบบ ผ่านเฟสบุ๊ค แฟนเพจผู้เลี้ยงแมวในจังหวัดสุรินทร์ มีวิธีได้มาซึ่งกลุ่มตัวอย่างตามสะดวกหรือสมัครใจ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ระบบข้อมูลประจำตัวสำหรับแมวด้วยเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด และแบบประเมินความพึงพอใจ การถายทอดความรู้ใช้วิธีการบรรยายให้ความรู้ สาธิตวิธีการใช้งานระบบ และให้ทดลองใช้งานระบบ ให้กลุ่มตัวอย่างประเมินความพึงพอใจในการถ่ายทอดความรู้ จากนั้นนำข้อมูลที่ได้ไปวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัย 1)&nbsp; ผลการถ่ายทอดความรู้ในการใช้งานระบบข้อมูลประจำตัวสำหรับแมวด้วยเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด พบว่า ได้รับความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีที่นำมาใช้กับสัตว์เลี้ยง และสามารถเข้าใจวิธีการใช้งานระบบข้อมูลประจำตัวสำหรับแมวผ่านคิวอาร์โค้ดได้อย่างชัดเจน เช่น การป้อนข้อมูลการเปลี่ยนแปลงข้อมูลประจำตัวของแมว เจ้าของแมว และการสแกนคิวอาร์โค้ด เพื่อเข้าถึงข้อมูลประจำตัวของแมวรวมถึงการเชื่อมโยงไปยังแผนที่ที่อยู่ และช่องทางการติดต่อกับเจ้าของแมว เป็นต้น&nbsp;</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; 2)&nbsp; ผลการประเมินความพึงพอใจในการถ่ายทอดความรู้ในการใช้งานระบบข้อมูลประจำตัวสำหรับแมวด้วยเทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด พบว่า มีระดับความพึงพอใจในภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.80 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 0.40</p> <p>&nbsp;</p> ตรีรัตน์ ตระกูลอุดมพร, เที่ยงธรรม สิทธิจันทเสน, อัษฎา วรรณกายนต์ Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275622 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 การบริหารสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาในยุคดิจิทัล กรณีศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 4 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275689 <p>การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาการบริหารสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาในยุคดิจิทัลของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 4 กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหารเขตพื้นที่การศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 4&nbsp; จำนวน 1 คน บุคลากรในสำนักงานเขตพื้นที่ จำนวน 4 คน&nbsp; ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง&nbsp; (Purposive Sampling)&nbsp; เครื่องมือที่ใช้ในวิจัยครั้งนี้คือ แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 4 ใช้นวัตกรรมการบริหาร เขตก้าวหน้า สร้างคุณภาพการศึกษาอย่างยั่งยืน&nbsp; ประกอบด้วย 3 ด้าน ได้แก่ 1) การบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพบนฐานของเทคโนโลยีดิจิทัลที่ทันสมัย 2) การพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างยั่งยืน 3) การสร้างโอกาสแก่ประชากรวัยเรียน</p> อดินันท์ แก้วนิล, สุรสม กฤษณะจูฑะ, พัชริดา ปรีเปรม, ศราวุฒิ โภคา Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275689 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 การศึกษาองค์ประกอบภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสกลนคร https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275683 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสกลนคร โดยใช้กระบวนการ วิจัยจากเอกสาร แบ่งเป็น 2 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาเอกสารแนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง จำนวน 13 แหล่ง ขั้นตอนที่ 2 การยืนยันองค์ประกอบภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา โดยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ข้อมูลองค์ประกอบโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ผลการวิจัยพบว่า ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ ประกอบด้วย 1) การมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์ 2) การสร้างแรงบัลดาลใจ 3) การกระตุ้นการใช้ปัญญา 4) การคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล และผลการยืนยันทุกองค์ประกอบมีความเหมาะสมในระดับมากที่สุด และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมากที่สุด</p> กันตพัฒน์ เดชาพิทักษ์, ทรัพย์หิรัญ จันทรักษ์, เอกลักษณ์ เพียสา Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275683 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 ความต้องการจำเป็นในการพัฒนาสมรรถนะเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนภายใต้โครงการคอนเน็กซ์อีดี สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275684 <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;การวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบันและความคาดหวังของสมรรถนะเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนภายใต้โครงการคอนเน็กซ์อีดี สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) ประเมินความต้องการจำเป็นในการพัฒนาสมรรถนะเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนภายใต้โครงการคอนเน็กซ์อีดี สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ 3) เสนอแนวทางในการพัฒนาสมรรถนะเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนภายใต้โครงการคอนเน็กซ์อีดี สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูโรงเรียนภายใต้โครงการคอนเน็กซ์อีดี สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประจำปีการศึกษา 2566 จำนวน 130 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage Sampling) ผู้ให้ข้อมูลในการสัมภาษณ์ ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีส่วนเกี่ยวข้องทางด้านบริหารสถานศึกษา มีประสบการณ์ในการปฏิบัติหน้าที่อย่างน้อย 5 ปี มีความรู้ความสามารถด้านนวัตกรรม มีความรู้และเข้าใจในบริบทของโรงเรียนภายใต้โครงการคอนเน็กซ์อีดี จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าดัชนีลำดับความสำคัญของความต้องการจำเป็น (PNI modified) สำหรับข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1) สภาพปัจจุบันของสมรรถนะเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนภายใต้โครงการคอนเน็กซ์อีดี สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และความคาดหวังของสมรรถนะเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนภายใต้โครงการคอนเน็กซ์อีดี สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด 2) ความต้องการจำเป็นในการพัฒนาสมรรถนะเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนภายใต้โครงการคอนเน็กซ์อีดีสูงสุดคือ ด้านการบริหารเชิงกลยุทธ์และการเป็นผู้นำทางวิชาการ รองลงมาคือ ด้านการประเมินผล ด้านทีมงานและการสร้างเครือข่าย และด้านคุณลักษณะส่วนบุคคล ตามลำดับ และ 3) แนวทางการพัฒนาสมรรถนะเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนภายใต้โครงการคอนเน็กซ์อีดี สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วย 1) ด้านคุณลักษณะส่วนบุคคล 2) ด้านทีมงานและการสร้างเครือข่าย 3) การบริหารเชิงกลยุทธ์และการเป็นผู้นำทางวิชาการ และ 4) ด้านการประเมินผล</p> ปวีณา พริ้งเพราะ , สุทธิพงศ์ บุญผดุง Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275684 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 การพัฒนาทักษะการแก้โจทย์ปัญหาฟิสิกส์ เรื่องความร้อนและแก๊ส ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้การจัดการเรียนรู้เทคนิค KWDL https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275761 <p>บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบทักษะการแก้โจทย์ปัญหาฟิสิกส์ เรื่องความร้อนและแก๊ส ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWDL 2) ศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWDL ในรายวิชาฟิสิกส์ เรื่องความร้อนและแก๊ส&nbsp; กลุ่มประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 (แผนการเรียนวิทย์-คณิต) ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2567 โรงเรียนเอกชนแห่งหนึ่งในจังหวัดเพชรบุรี&nbsp; จำนวน 1 ห้องเรียน มีนักเรียนจำนวน 12 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้วิชาฟิสิกส์ เรื่องความร้อนและแก๊ส จำนวน 8 แผน 2) แบบทดสอบวัดทักษะการแก้โจทย์ปัญหาฟิสิกส์ เรื่องความร้อนและแก๊ส &nbsp;มีลักษณะเป็นข้อสอบแบบอัตนัยจำนวน 4 ข้อ 3) แบบสัมภาษณ์ความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้วิชาฟิสิกส์ เรื่องความร้อนและแก๊ส โดยใช้เทคนิค KWDL จำนวน 10 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ยของประชากร (μ) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของประชากร (σ) วิเคราะห์แบบสัมภาษณ์ความคิดเห็นของนักเรียนโดยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีทักษะการแก้โจทย์ปัญหาฟิสิกส์ เรื่องความร้อนและแก๊ส หลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคนิค KWDL (μ = 45.58, σ = 7.34) สูงกว่าก่อนเรียน (μ =13.16, σ =1.73)&nbsp;2) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 แสดงความคิดเห็นเชิงบวกไปในทิศทางเดียวกันว่า รู้สึกชอบและสนุกกับการเรียนรู้ด้วยเทคนิค KWDL และเป็นเทคนิคที่เหมาะสมกับการเรียนเรื่องการแก้โจทย์ปัญหาฟิสิกส์</p> ชนิกานต์ ทับทิม, ชิดชไม วิสุตกุล Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275761 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 รูปแบบการพัฒนาการบริหารกิจการนักศึกษาของสถาบันอุดมศึกษา ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275538 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการบริหารกิจการนักศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง 2) สร้างรูปแบบการพัฒนาการบริหารกิจการนักศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง และ 3) ประเมินความเป็นไปได้และความเป็นประโยชน์ของรูปแบบการพัฒนาการบริหารกิจการนักศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง โดยดำเนินการวิจัยเป็น 3 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาสภาพการบริหารกิจการนักศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ได้แก่ ผู้บริหารงานกิจการนักศึกษา สถาบันอุดมศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างปีการศึกษา 2566 จำนวน 45 คน จาก 15 สถาบันอุดมศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามประมาณค่า 5 ระดับ ซึ่งมีค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) อยู่ระหว่าง 0.60 -1.00 และค่าความเชื่อมั่น 0.90 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหาจากข้อเสนอแนะในส่วนท้ายของแบบสอบถามฉบับเดียวกัน ขั้นตอนที่ 2 สร้างรูปแบบการพัฒนาการการบริหารกิจการนักศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง โดยนำผลจากขั้นตอนที่ 1 มาใช้เป็นหลักในรูปแบบการพัฒนาและจัดกลุ่มประชุมสนทนา ผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 7 คน เพื่อพิจารณาความเหมาะสมของรูปแบบการบริหารกิจการนักศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบประเมินความเหมาะสม ขั้นตอนที่ 3 ประเมินความเป็นไปได้และความเป็นประโยชน์ของรูปแบบการพัฒนาการบริหารกิจการนักศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้บริหารกิจการนักศึกษา สถาบันอุดมศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ที่เลือกแบบเจาะจงจำนวน 45 คน เครื่องมือที่ใช้ คือแบบประเมินความเป็นไปได้และความเป็นประโยชน์ มาวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน</p> <p> ผลการวิจัยพบว่า 1) ผู้บริหารกิจการนักศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาใน</p> <p>ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างมีการจัดการบริหารกิจการนักศึกษาตามกรอบแนวคิด POLC Framework โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาแต่ละด้าน พบว่า การบริหารกิจการนักศึกษาด้านกิจกรรมนักศึกษามีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาการบริหารกิจการนักศึกษาด้านบริการและสวัสดิการนักศึกษา และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำ 3 ลำดับสุดท้าย ได้แก่ ด้านกีฬา ด้านวินัยนักศึกษา และ ด้านงานแนะแนวและจัดหางาน 2) รูปแบบการพัฒนาการบริหารกิจการนักศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ ได้แก่ (1) หลักการและเหตุผลของรูปแบบ (2) วัตถุประสงค์ของรูปแบบ (3) สาระสำคัญและการดำเนินการพัฒนา (4) แนวทางการนำรูปแบบสู่การปฏิบัติ และ (5) เงื่อนไขความสำเร็จของรูปแบบ ผลการประเมินความเหมาะสมของรูปแบบ อยู่ในระดับมากที่สุด 3) ผลการประเมินความเป็นไปได้และความเป็นประโยชน์ของรูปแบบการพัฒนาการบริหารกิจการนักศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างอยู่ในระดับมากที่สุด</p> เทอดทูน ค้าขาย, สมบูรณ์ ตันยะ, สงวนพงศ์ ชวนชม Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275538 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 การพัฒนาความสามารถการอ่านออกเสียงสัทอักษรจีน โดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้เกมเป็นฐาน สำหรับนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275434 <p>การวิจัยครั้งนี้ วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้แบบใช้เกมเป็นฐาน สำหรับนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ร้อยละ 75/75 และเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านออกเสียงสัทอักษรจีน โดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้เกมเป็นฐาน ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ สำหรับนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 ที่เรียนวิชาภาษาจีน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 วิทยาลัยเทคนิคยโสธร ตำบลสำราญ อำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธ จำนวน 16 คน โดยเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมความสามารถการอ่านออกเสียงสัทอักษรจีน&nbsp; โดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้เกมเป็นฐาน สำหรับนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 จำนวน 6 แผน แผนละ 2 ชั่วโมง แบบทดสอบวัดความสามารถการอ่านออกเสียงสัทอักษรจีน สำหรับนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1&nbsp; จำนวน 40 ข้อ ซึ่งมีลักษณะเป็นแบบทดสอบวัดความสามารถด้านการอ่านออกเสียง และเป็นแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน โดยสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้ Nonparametric Test ด้วยวิธี Wilcoxon Signed-Ranks Test</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัย พบว่า การจัดการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 มีค่าเฉลี่ยร้อยละเท่ากับ 83.89 และประสิทธิภาพของผลลัพธ์การจัดการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 มีค่าเฉลี่ยร้อยละเท่ากับ 85.37 แสดงว่าการจัดการเรียนรู้โดยใช้เกมเป็นฐาน ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 มีประสิทธิภาพ (E1 / E2) เท่ากับ 83.89/85.37 สูงกว่าเกณฑ์ 75/75 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และการวิเคราะห์เปรียบเทียบความสามารถการอ่านออกเสียงสัทอักษรจีน ของนักเรียนระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 ก่อนเรียนและหลังเรียน พบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 นั่นคือ หลังการจัดการเรียนรู้แบบใช้เกมเป็นฐาน นักเรียนมีความสามารถในการอ่านออกเสียงสัทอักษรจีนสูงกว่าก่อนเรียน</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp;</p> นันทวัน สกุลไทย, สัจธรรม พรทวีกุล Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275434 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 องค์ประกอบและตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275778 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา การดำเนินการวิจัย แบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง จำนวน 11 แหล่ง เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสังเคราะห์องค์ประกอบภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา ใช้สถิติความถี่และร้อยละ ขั้นตอนที่ 2 การประเมินความเหมาะสมองค์ประกอบและตัวบ่งชี้ของภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประมาณค่าชนิด 5 ระดับ ใช้สถิติค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยพบว่า ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษา ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ 27 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) ความยืดหยุ่น ประกอบด้วย 6 ตัวบ่งชี้ 2) การมีวิสัยทัศน์ ประกอบด้วย 7 ตัวบ่งชี้ 3) การทำงานเป็นทีม ประกอบด้วย 6 ตัวบ่งชี้ และ 4) ความคิดสร้างสรรค์ ประกอบด้วย 8 ตัวบ่งชี้ โดยทุกองค์ประกอบมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด และตัวบ่งชี้ในภาพรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด</p> ศุภเชรษฐ์ ไตรยราช, ธราเทพ เตมีรักษ์, วันเพ็ญ นันทะศรี Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275778 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 แนวทางการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาหนองคาย https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275377 <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาหนองคาย กลุ่มผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 5 คน ซึ่งได้จากการกำหนดคุณสมบัติแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการสร้างข้อสรุปสร้างข้อสรุป ผลการวิจัยพบว่า แนวทางการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมเอื้อต่อการเรียนรู้ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาหนองคาย ได้แก่ 1) ด้านกายภาพ จำนวน 10 แนวทาง 2) ด้านการบริหาร จำนวน 10 แนวทาง&nbsp; 3) ด้านวิชาการจำนวน 10 แนวทาง</p> พิพัฒพงษ์ สุวรรณโสภา, ธีระพล เพ็งจันทร์ Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275377 Wed, 19 Feb 2025 00:00:00 +0700 จรรยาบรรณวิชาชีพผู้บริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการบริหารสถานศึกษา : กรณีศึกษาผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานี อำนาจเจริญ ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281662 <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความคิดเห็นของบุคลากรทางการศึกษาต่อการจรรยาบรรณวิชาชีพของผู้บริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการบริหารสถานศึกษา 2) เปรียบเทียบระดับความคิดเห็นของบุคลากรทางการศึกษาต่อจรรยาบรรณวิชาชีพของผู้บริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการบริหารสถานศึกษา โดยจำแนกตามตัวแปรเช่นของกลุ่มตัวอย่างเช่น เพศ อายุ ระดับการศึกษา ตำแหน่ง และประสบการณ์ในการทำงาน 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างจรรยาบรรณวิชาชีพผู้บริหารกับประสิทธิผลการบริหารสถานศึกษา ผลการวิจัย พบว่า 1) ความคิดเห็นของบุคลากรทางการศึกษาต่อการ จรรยาบรรณวิชาชีพของผู้บริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการบริหารสถานศึกษาโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านจรรยาบรรณต่อตนเอง รองลงมา คือ ด้านจรรยาบรรณต่อสังคม ด้านจรรยาบรรณต่อวิชาชีพ&nbsp; ด้านจรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ และน้อยสุด คือ ด้านจรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ ตามลำดับ 2) ความคิดเห็นของบุคลากรทางการศึกษาต่อจรรยาบรรณวิชาชีพของผู้บริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการบริหารสถานศึกษา จำแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา ตำแหน่งวิทยฐานะของครู และ ประสบการณ์ในการทำงานของครู พบว่า&nbsp; บุคลากรทางการศึกษาต่อจรรยาบรรณวิชาชีพของผู้บริหารที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการบริหารสถานศึกษา ไม่แตกต่างกัน 3) จรรยาบรรณของวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษามีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลการบริหารสถานศึกษา : กรณีศึกษาผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานี อำนาจเจริญ &nbsp;ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี&nbsp; ในระดับปานกลาง (r=.625) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งเป็นความสัมพันธ์แบบคล้อยตามกัน เมื่อพิจารณารายด้านจรรยาบรรณของวิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษาในทุกด้าน พบว่า มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลการบริหารสถานศึกษาในภาพรวม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05&nbsp; โดยเรียงตามค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ 3 อันดับแรก ได้แก่ จรรยาบรรณต่อสังคม (r= .795) จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ (r = .545) และจรรยาบรรณต่อตนเอง (r= .489)</p> มีชัย ศรีคูณ, ประจวบ หนูเลี่ยง Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281662 Wed, 19 Feb 2025 00:00:00 +0700 สภาพการดำเนินงานห้องเรียนคุณภาพของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 1 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275710 <p> การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการดำเนินงานห้องเรียนคุณภาพของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 1 2) เพื่อเปรียบเทียบสภาพการดำเนินงานห้องเรียนคุณภาพของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 1 จำแนกตามตำแหน่ง วุฒิการศึกษา และประสบการณ์ในการทำงาน 3) เพื่อศึกษาแนวทางในการดำเนินงานห้องเรียนคุณภาพ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 1 ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพการดำเนินงานห้องเรียนคุณภาพของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 1 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด 2) การเปรียบเทียบสภาพการดำเนินงานห้องเรียนคุณภาพของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 1 จำแนกตามตำแหน่ง วุฒิการศึกษา และประสบการณ์ในการทำงาน พบว่า แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3) แนวทางการดำเนินงานห้องเรียนคุณภาพของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 1 พบว่า 1) ด้านนำการเปลี่ยนแปลงสู่ห้องเรียนคุณภาพ สถานศึกษาควรสนับสนุนให้ทุกห้องเรียนมีสื่ออุปกรณ์ประกอบการจัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมให้ครูจัดทำแผนพัฒนาตนเอง มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ(PLC) 2) ด้านการออกแบบการเรียนรู้อิงมาตรฐาน ผู้บริหารควรส่งเสริมให้ครูจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด จัดการเรียนรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เน้นการประเมินตามสมรรถนะผู้เรียนและสภาพจริงด้วยวิธีการที่หลากหลาย 3) ด้านวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน สถานศึกษาควรส่งเสริมให้ครูได้รับการพัฒนาทางด้านทักษะและความรู้ในการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนและดำเนินการการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนอย่างน้อยปีการศึกษาละ 1 เรื่อง เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง 4) ด้านการใช้ ICT เพื่อการจัดการเรียนรู้ สถานศึกษาควรส่งเสริมให้ครูได้รับการพัฒนาทักษะในการใช้สื่อ ICT มีแผนการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการใช้ ICT มีการบริหารจัดการข้อมูลสารสนเทศของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ 5) ด้านการสร้างวินัยเชิงบวก สถานศึกษาควรผลักดันให้ครูตระหนักในการสร้างวินัยเชิงบวกในห้องเรียน พัฒนานักเรียนตามศักยภาพ และเสริมแรงนักเรียนให้เกิดการปฏิบัติพฤติกรรมที่เหมาะสมอย่างต่อเนื่อง</p> ปริสุทธิ์ ตั้งจิต, พีรญา ทองเฉลิม, ชวนคิด มะเสนะ Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275710 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 ภาวะผู้นำครูที่ส่งผลต่อสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275848 <p> การวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับภาวะผู้นำครู และระดับสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ของครู 2) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำครูกับสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ของครู 3) อำนาจพยากรณ์ของภาวะผู้นำครูที่ส่งผลต่อสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ของครู และ 4) แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำครูที่ส่งผลต่อสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ของครูในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนครเขต 1</p> <p> ผลการวิจัยพบว่า 1) ภาวะผู้นำครูและสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ของครูในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด 2) ภาวะผู้นำครูกับสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 มีความสัมพันธ์กันทางบวกในระดับต่ำ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (rxy = .319) 3) ภาวะผู้นำครูด้านที่มีอำนาจพยากรณ์สมรรถนะการจัดการเรียนรู้ในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 คือ ด้านการเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง (X<sub>2</sub>) สามารถเขียนสมการถดถอยในรูปคะแนนมาตรฐานได้ดังนี้ Z’y = 0.329ZX<sub>2</sub> 4) แนวทางพัฒนาภาวะผู้นำครูด้านการเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง ผู้วิจัยได้เสนอไว้แล้ว</p> ตติยา โภคาพานิช, วัลนิกา ฉลากบาง, พรเทพ เสถียรนพเก้า Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275848 Wed, 19 Feb 2025 00:00:00 +0700 การพัฒนาการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของแฮร์โรว์ เพื่อส่งเสริมทักษะปฏิบัติการเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น สำหรับนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275506 <p> การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของแฮร์โรว์ เพื่อส่งเสริมทักษะปฏิบัติการเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น สำหรับนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75 และเปรียบเทียบทักษะปฏิบัติการเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 กับเกณฑ์ร้อยละ 75 กลุ่มตัวอย่าง เป็นนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง จำนวน 1 ห้องเรียน จำนวน 10 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วยแผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของแฮร์โรว์ เพื่อส่งเสริมทักษะปฏิบัติการเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น สำหรับนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 จำนวน 4 แผน แผนละ 4 ชั่วโมง และแบบวัดทักษะปฏิบัติการเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น จำนวน 4 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ One sample t-test</p> <p> ผลการวิจัย พบว่า แผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดของแฮร์โรว์ เพื่อส่งเสริมทักษะปฏิบัติการเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น สำหรับนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 มีประสิทธิภาพ 81.95/80.83 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้คือ 75/75 และนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปีที่ 1 มีทักษะปฏิบัติการเขียนแบบเทคนิคเบื้องต้นสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 75 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05</p> ณัชพล ทองศรี , กัญญาวดี แสงงาม Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275506 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 การศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โจทย์ปัญหาร้อยละ ด้วยรูปแบบ SPSS สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274884 <p> การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โจทย์ปัญหาร้อยละ ด้วยรูปแบบ SPSS สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 70/70 2) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง โจทย์ปัญหาร้อยละ 3) ศึกษาความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โจทย์ปัญหาร้อยละ ด้วยรูปแบบ SPSS สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนวัดศาลาเขื่อน อำเภอบ้านลาด จังหวัดเพชรบุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 16 คน เป็นห้องเรียนแบบคละความสามารถ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วย <br />1) แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โจทย์ปัญหาร้อยละ จำนวน 10 แผน 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ เรื่อง โจทย์ปัญหาร้อยละ เป็นแบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก จำนวน 20 ข้อ 20 คะแนน และ 3) แบบประเมินความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โจทย์ปัญหาร้อยละ ด้วยรูปแบบ SPSS สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย (<img title="\mu" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\mu" />) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (<img title="\sigma" src="https://latex.codecogs.com/gif.latex?\sigma" />) และดัชนีประสิทธิผล (E.I.)</p> <p> ผลการวิจัยพบว่า 1) แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โจทย์ปัญหาร้อยละ ด้วยรูปแบบ SPSS สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 พบว่า มีประสิทธิภาพ (E<sub>1</sub>/E<sub>2</sub>) เท่ากับ 88.95/77.81 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง โจทย์ปัญหาร้อยละ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อนได้รับการจัดการเรียนรู้มีคะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 6.44 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 1.67 และมีค่าสัมประสิทธิ์การแปรผัน (CV) เท่ากับ 25.93 และหลังได้รับการจัดการเรียนรู้มีคะแนนเฉลี่ย เท่ากับ 15.56 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 1.97 และมีค่าสัมประสิทธิ์การแปรผัน (CV) เท่ากับ 12.66 แสดงว่าการจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบ SPSS ทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง โจทย์ปัญหาร้อยละ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 สูงขึ้น 3) ผลการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่องโจทย์ปัญหาร้อยละ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ด้วยรูปแบบ SPSS มีค่าดัชนีประสิทธิผล (E.I.) เท่ากับ 0.6728 แสดงว่านักเรียนมีความรู้ทางคณิตศาสตร์ เรื่องโจทย์ปัญหาร้อยละ เพิ่มขึ้นจากก่อนได้รับการจัดการเรียนรู้ ร้อยละ 67.28 4) ความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โจทย์ปัญหาร้อยละ ด้วยรูปแบบ SPSS สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 พบว่า โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด </p> พงศธร หอมภู่, พรสิน สุภวาลย์, เดช บุญประจักษ์ Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274884 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของครู สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรปราการ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275830 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรปราการ 2) ศึกษาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรปราการ 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรปราการ กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้โปรแกรม G*Power ได้กลุ่มตัวอย่างจากการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิตามสัดส่วนของขนาดแต่ละโรงเรียน คือ ข้าราชการครูปีการศึกษา 2567 จำนวน 148 คน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับ เท่ากับ .978 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน</p> <p>ผลการวิจัย พบว่า 1) ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรปราการ ทั้งภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย คือ ด้านการกำหนดวิสัยทัศน์ ด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ด้านการสร้างวัฒนธรรมองค์การ ด้านการทำงานเป็นทีม และด้านการสื่อสาร ตามลำดับ 2) ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรปราการ ทั้งภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย คือ ด้านคุณภาพของงาน ด้านกระบวนการปฏิบัติงาน ด้านค่าใช้จ่าย ด้านเวลา และด้านปริมาณงาน ตามลำดับ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารสถานศึกษากับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสมุทรปราการ ทั้งภาพรวมมีความสัมพันธ์ในทางบวก อยู่ในระดับค่อนข้างสูง โดยเรียงลำดับค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์จากมากไปน้อย คือ ด้านการสร้างวัฒนธรรมองค์การ (r=.679) ด้านการทำงานเป็นทีม (r=.675) ด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (r=.672) ด้านการสื่อสาร (r=.661) และด้านการกำหนดวิสัยทัศน์ (r=.631) ตามลำดับ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01</p> สมพล นาลาดทา, สมศักดิ์ เอี่ยมคงสี Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275830 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 การสังเคราะห์วิทยานิพนธ์ด้านการปรึกษาเชิงจิตวิทยาในวัยรุ่นระหว่างปี พ.ศ. 2556 - 2566 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274948 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสังเคราะห์งานวิทยานิพนธ์ด้านการปรึกษาเชิงจิตวิทยาในวัยรุ่นระหว่างปี พ.ศ. 2556 – 2566 จากการสืบค้นฐานข้อมูลของโครงการเครือข่ายห้องสมุดในประเทศไทย ThaiLIS: Thai library Integrated System จำนวน 41 เล่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบบันทึกคุณลักษณะงานวิจัย และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าความถี่และร้อยละ ผลการสังเคราะห์งานวิทยานิพนธ์พบว่าวิทยานิพนธ์ที่จัดทำในปี พ.ศ. 2559 และ พ.ศ. 2561 มีจำนวนมากที่สุด มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลของการใช้โปรแกรมการปรึกษาเชิงจิตวิทยามากที่สุด มีการใช้ทฤษฎีการปรึกษาตามแนวพฤติกรรมทางปัญญามากที่สุด ตัวแปรตามที่ศึกษาส่วนใหญ่เป็นพฤติกรรมการตระหนักรู้ในตนเอง กลุ่มตัวอย่างส่วนส่วนใหญ่อยู่ในช่วงอายุ 15 - 19 ปี และมีการใช้เครื่องมือเป็นแบบวัด/มาตรวัดตัวแปรตาม และโปรแกรมการปรึกษาเชิงจิตวิทยาในวิทยานิพนธ์ทุกเล่ม โดยในวิทยานิพนธ์ที่เป็นการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มขนาดของกลุ่มส่วนใหญ่จะเป็นกลุ่ม 8 และ 10 คน จำนวนครั้งการให้การปรึกษาตลอดโปรแกรมการปรึกษาส่วนใหญ่เป็นโปรแกรม 10 ครั้ง ระยะเวลาที่ใช้ในการให้การปรึกษาแต่ละครั้งส่วนใหญ่จะใช้เวลา 60 นาที สถิติทีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์สถิติพื้นฐานค่าเฉลี่ย และใช้ t-test for dependent sample ในการพิสูจน์สมมติฐานมากที่สุดจำนวน กลุ่มบุคคลที่ผู้วิจัยคาดว่าจะนำผลการวิจัยไปใช้เป็นกลุ่มนักเรียน/นักศึกษา มากที่สุด รองลงมาเป็นกลุ่มอาจารย์และอาจารย์แนะแนว</p> สรวิศ เหง่าหลี, มฤษฎ์ แก้วจินดา, จิตตินันท์ บุญสถิรกุล Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274948 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 ปัญหาการตีความหมายการบังคับใช้แรงงานหรือบริการในคดีค้ามนุษย์ตาม พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275808 <p>บทความวิจัยเรื่องปัญหาการตีความหมายการบังคับใช้แรงงานหรือบริการในคดีค้ามนุษย์ตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551 นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาทางแก้ไข ประเด็นปัญหาการกำหนดนิยามการค้ามนุษย์เกี่ยวกับการตีความหมายการบังคับใช้แรงงานหรือบริการของประเทศไทยซึ่งน่าจะยังไม่เพียงพอ เนื่องจากยังมีประเด็น ได้แก่ 1) การกำหนดนิยามความหมายที่ยังคงเป็นปัญหาในการใช้มาตรการทางกฎหมายการค้ามนุษย์เกี่ยวกับการบังคับใช้แรงงานหรือบริการของประเทศไทย 2) แนวทางการใช้มาตรการทางกฎหมายการค้ามนุษย์เกี่ยวกับการบังคับใช้แรงงานหรือบริการของไทยกับต่างประเทศและแนวคิดแนวคิดของอนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติที่ตั้งขึ้นในลักษณะองค์กร ค.ศ. 2000 ข้อ 3 (a) ในประเด็นส่วนเกี่ยวกับการทางการบังคับใช้แรงงานหรือบริการยังคงไม่สอดคล้องตรงกัน 3) ควรใช้แนวทางใดในการแก้ไขปัญหาในการตีความหมายของการบังคับใช้แรงงานหรือบริการดังกล่าวให้เพื่อสอดคล้องเหมาะสม </p> <p>ผลการศึกษา 1) พบว่า การใช้มาตรการกฎหมายนิยามความผิดทางฐานค้ามนุษย์การบังคับใช้แรงงานหรือบริการดังกล่าวของประเทศไทยนั้น เน้นตามที่กำหนดไว้ในพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551 มาตรา 4 ประกอบ มาตรา 6 ซึ่งเคยมีคำตัดสินปรากฏตามคำพิพากษาศาลฎีกาที่ 13648/2558 คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 71/2562 ว่าผู้กระทำผิดจะต้องกระทำโดยเข้าลักษณะเงื่อนไขของข่มขืนใจการขู่เข็ญตามมาตรา 4 อย่างชัดแจ้งเท่านั้น ทั้งที่ หากพิจารณาข้อเท็จจริงดังกล่าวโดยใช้หลักวิญญูชนคนทั่วไปแล้ว ผู้กระทำผิดก็น่าจะควรรู้หรือตระหนักรู้ได้อยู่แล้วว่า เหยื่อผู้เสียหายน่าจะถูกเอาเปรียบจากการบังคับใช้แรงงานหรือบริการดังกล่าวอย่างแน่นอน 2) พบว่า มีแนวทางความแตกต่างของการใช้มาตรการทางกฎหมายการค้ามนุษย์เกี่ยวกับการตีความหมายการบังคับใช้แรงงานหรือบริการของต่างประเทศซึ่งไม่ว่าจะเป็นต่างประเทศที่มีแนวคิดแบบคอมมอนลอว์หรือแบบซีวิลลอว์ก็ตามล้วนแล้วแต่มีทิศทางเดียวกัน ส่วนใหญ่นั้นตัวบทกฎหมายและคำตัดสินจะกำหนดตัวในแนวทางว่า หากผู้กระทำผิดน่าจะควรรู้หรือตระหนักรู้ได้อยู่แล้วว่า เหยื่อผู้เสียหายน่าจะถูกเอาเปรียบจากการบังคับใช้แรงงานหรือบริการก็ถือว่าเป็นการข่มขืนใจขู่เข็ญอันเป็นความผิดค้ามนุษย์การบังคับใช้แรงงานหรือบริการซึ่งสอดคล้องกันกับแนวคิดของอนุสัญญาสหประชาชาติเพื่อต่อต้านอาชญากรรมข้ามชาติที่ตั้งขึ้นในลักษณะองค์กร ค.ศ. 2000 ข้อ 3 (a) โดยเฉพาะในส่วนประเด็นที่เกี่ยวกับการบังคับใช้แรงงานหรือบริการที่ว่า การกระทำที่เป็นลักษณะการบีบบังคับในรูปแบบอื่นใดด้วยการกระทำการใช้อำนาจโดยมิชอบ 3) พบว่า ถ้าหากว่าประเทศไทยมีการนำแนวคิดที่แตกต่างดังกล่าวนี้ โดยเฉพาะถ้อยคำที่ว่า รวมถึงการกระทำที่เป็นลักษณะการบีบบังคับในรูปแบบอื่นใดด้วยการกระทำการใช้อำนาจโดยมิชอบ มาปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติมใช้ในตัวบทกฎหมายตามมาตรา 4 และ มาตรา 6 ของพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ พ.ศ. 2551 ของประเทศไทยแล้ว ก็น่าจะทำให้นิยามความหมายการค้ามนุษย์โดยเฉพาะการบังคับใช้แรงงานหรือบริการดังกล่าวมีความสอดคล้องกับแนวทางการใช้มาตรการทางกฎหมายของต่างประเทศ เพราะว่า ถ้อยคำนี้สามารถตีความหมายครอบคลุมถึงผู้ร่วมกระทำผิดที่มีเจตนาแอบแฝงที่น่าจะรู้หรือควรจะรู้ถึงการที่เหยื่อค้ามนุษย์จะถูกเอาเปรียบจากการบังคับใช้แรงงานหรือบริการ ซึ่งก็จะมีผลทำให้ศาลประเทศไทยสามารถใช้ดุลพินิจในการตัดสินคดีได้เหมาะสม อันถือเป็นการปรับปรุงแก้ไขที่สอดคล้องเหมาะสม</p> สุรชัย พ่วงชูศักดิ์, ภัชราณิศร์ ศรีนวลกล้า Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275808 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 ผลการจัดกิจกรรมการเล่นทรายที่มีต่อความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัย โรงเรียนบ้านโชคชัยพัฒนา จังหวัดกำแพงเพชร https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281665 <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัยโรงเรียนบ้านโชคชัยพัฒนา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กำแพงเพชร เขต 2 จังหวัดกำแพงเพชร ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมการเล่นทราย กลุ่มตัวอย่าง คือ เด็กปฐมวัย ที่มีอายุระหว่าง 5-6 ปี จำนวน 22 คน กำลังศึกษาอยู่ในชั้นอนุบาลปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 โรงเรียนบ้านโชคชัยพัฒนา จังหวัดกำแพงเพชร ได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม จำนวน 1 ห้องเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย คู่มือการจัดกิจกรรมการเล่นทราย และแบบทดสอบวัดความคิดสร้างสรรค์ของเด็กปฐมวัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบเครื่องหมายผลการวิจัยปรากฏว่า เด็กปฐมวัยโรงเรียนบ้านโชคชัยพัฒนา ที่ได้ร่วมกิจกรรมการ เล่นทรายมีความคิดสร้างสรรค์หลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05</p> จักรพันธุ์ จันทร์เจริญ, พิภพ เสวกวรรณ์ Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281665 Wed, 19 Feb 2025 00:00:00 +0700 การพัฒนาแนวทางการบริหารงานวิชาการโดยใช้วงจรคุณภาพเดมมิ่ง ในสถานศึกษาขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275920 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพที่เป็นจริง ความคาดหวังและดัชนีความจำเป็นของการบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาขนาดเล็ก 2) เพื่อเสนอแนวทางการบริหารงานวิชาการโดยใช้วงจรคุณภาพเดมมิ่งในสถานศึกษาขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3 กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหารและครูหัวหน้างานวิชาการ จำนวน 106 คน มีกลุ่มผู้ให้ข้อมูล จำนวน 3 คน และผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 คน เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม และแบบประเมิน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย ค่ามัชฌิมเลขคณิต และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารงานวิชาการในสถานศึกษาขนาดเล็ก มีสภาพเป็นจริงอยู่ในระดับปานกลาง สภาพที่คาดหวังอยู่ในระดับมาก และมีดัชนีความจำเป็นในการพัฒนาแนวทางการบริหารงานวิชาการ เรียงลำดับได้ ได้แก่ 1) ด้านการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ 2) ด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา 3) ด้านการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 4) ด้านการนิเทศการศึกษา 5) ด้านการแนะแนวการศึกษา 6) ด้านการวัดและประเมินผล และ 7) ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา และ 2) แนวทางการบริหารงานวิชาการโดยใช้วงจรคุณภาพเดมมิ่งในสถานศึกษาขนาดเล็ก ประกอบด้วยองค์ประกอบ ได้แก่ การวางแผน การปฏิบัติ การตรวจสอบ และการปรับปรุงแก้ไข โดยกระบวนการดังกล่าวส่งผลให้สถานศึกษาได้เปลี่ยนแปลงและพัฒนาไปในทางที่ดี พึงประสงค์มากยิ่งขึ้น และมีผลการประเมินความเป็นไปได้โดยผู้ทรงคุณวุฒิ อยู่ในระดับมากที่สุด</p> วชิรวิชญ์ เจริญชัย, ลักขณา สริวัฒน์ Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275920 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 การศึกษาการโอนย้ายของบุคลากรโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลไปสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดมหาสารคาม https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275529 <p> การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสาเหตุการโอนย้ายของบุคลากรโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในจังหวัดมหาสารคาม ไปสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดมหาสารคาม และเพื่อศึกษาข้อเสนอแนะของบุคลากรโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในจังหวัดมหาสารคาม ซึ่งเป็นการวิจัยแบบผสมผสาน กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรที่โอนย้าย จำนวน 346 คน และกลุ่มผู้ให้ข้อมูล จำนวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามที่มีค่าความเชื่อมั่น (α) เท่ากับ .911 และแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติพื้นฐาน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยพบว่่า</p> <p> บุคลากรส่วนใหญ่มีเหตุผลสำคัญที่มีผลต่อการตัดสินใจในการโอนย้ายมาสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดมหาสารคาม ประกอบด้วย ลักษณะงานที่ปฏิบัติและความรับผิดชอบ ความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน การบังคับบัญชาและการควบคุมดูแลการคงอยู่กับองค์กรของบุคลากร สภาพแวดล้อมในการทำงานและความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน รวมไปถึง ค่าตอบแทน</p> <p> บุคลากรส่วนใหญ่ได้ให้ข้อเสนอแนะว่า องค์การบริหารส่วนจังหวัดมหาสารคาม ควรมีการพัฒนากรอบอัตรากำลังที่ชัดเจน เพื่อลดปัญหาการขาดแคลนบุคลากรในบางพื้นที่ และรวมไปถึงการลดภาระงานที่ซ้ำซ้อนของบุคลากรลง องค์การบริหารส่วนจังหวัดมหาสารคาม ควรมีการจัดหาและสนับสนุนครุภัณฑ์และเวชภัณฑ์ทางการแพทย์ที่จำเป็น และมีมาตรฐานเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการให้บริการของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จัดสรรงบประมาณให้กับทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเพิ่มมากขึ้นเพื่อสนับสนุนการพัฒนาการยกระดับด้านโครงสร้าง การบริการ และบุคลากร รวมไปถึงมีความมุ่งหวังที่จะได้รับค่าตอบแทนและสิทธิสวัสดิการอื่น ๆ เพิ่มมากขึ้นจากการโอนย้ายมาสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดมหาสารคาม</p> ชัชวิทย์ ทองภูธรณ์, อลงกรณ์ อรรคแสง Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275529 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 องค์ประกอบและตัวบ่งชี้ของการบริหารงานวิชาการระดับปฐมวัยของโรงเรียน https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281668 <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบและตัวบ่งชี้การบริหารงานวิชาการระดับปฐมวัยของโรงเรียน ดำเนินการวิจัยแบ่งเป็น 2 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาองค์ประกอบและตัวบ่งชี้การบริหารงานวิชาการระดับปฐมวัยของโรงเรียน โดยการสังเคราะห์องค์ประกอบจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง จำนวน 10 แหล่ง เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสังเคราะห์องค์ประกอบการบริหารงานวิชาการระดับปฐมวัยของโรงเรียน สถิติที่ใช้ ได้แก่ ความถี่และร้อยละ ขั้นตอนที่ 2 การประเมินความเหมาะสมขององค์ประกอบและตัวบ่งชี้ของการบริหารงานวิชาการระดับปฐมวัยของโรงเรียน กลุ่มเป้าหมายเป็นผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า องค์ประกอบการบริหารงานวิชาการระดับปฐมวัยของโรงเรียนมี 5 องค์ประกอบ 27 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ 1) การพัฒนาหลักสูตรและการนำไปใช้ ประกอบด้วย 5 ตัวบ่งชี้ 2) การจัดประสบการณ์ ประกอบด้วย 6 ตัวบ่งชี้ 3) การนิเทศภายใน ประกอบด้วย 5 ตัวบ่งชี้ 4) การพัฒนาและผลิตสื่อ ประกอบด้วย 6 ตัวบ่งชี้ และ 5) การวัดและประเมินพัฒนาการ ประกอบด้วย 5 ตัวบ่งชี้ โดยองค์ประกอบการพัฒนาและผลิตสื่อ และ องค์ประกอบการวัดและประเมินพัฒนาการความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด</p> วัลลี ทองสันทัด, ธราเทพ เตมีรักษ์, เอกลักษณ์ เพียสา Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281668 Wed, 19 Feb 2025 00:00:00 +0700 การพัฒนาการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะการคิดแก้ปัญหาของนักศึกษาครุศาสตรบัณฑิต https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275954 <p style="font-weight: 400;">การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการพัฒนาการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะการคิดแก้ปัญหาของนักศึกษาครุศาสตรบัณฑิต กลุ่มตัวอย่างได้แก่ นักศึกษาสาขาวิชาคณิตศาสตร์ จำนวน 54 คน ที่ลงทะเบียนเรียน รายวิชา คศ 1204208 การบริหารการศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้&nbsp; ได้แก่ แบบบันทึกกิจกรรมการปฏิบัติตามการเรียนรู้ด้วยการใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อพัฒนาการคิดแก้ปัญหา ดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน</p> <p><span style="font-weight: 400;">ผลการวิจัยพบว่า คะแนนการคิดแก้ปัญหาของผู้เรียนก่อนการใช้การเรียนรู้ด้วยการใช้ปัญหาเป็นฐานของนักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต ผู้เรียนมีการคิดแก้ปัญหาในระดับปานกลาง ภาพรวม ค่าเฉลี่ย 3.23 และเมื่อเข้าสู่กระบวนการพัฒนาการเรียนรู้ พบว่าคะแนนการคิดแก้ปัญหาของผู้เรียนหลังการใช้ปัญหาเป็นฐานของนักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต ผู้เรียนมีระดับทักษะการคิดแก้ปัญหาในระดับมาก ภาพรวม ค่าเฉลี่ย 4.00</span></p> ภูวดล จุลสุคนธ์ Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275954 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 การพัฒนาทักษะการพูดและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาจีน โดยใช้วิธีการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารร่วมกับสื่อมัลติมีเดียของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281669 <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบทักษะการพูดภาษาจีนก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร ร่วมกับสื่อมัลติมีเดีย 2) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาจีนโดยใช้วิธีการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร ร่วมกับสื่อมัลติมีเดีย และ 3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อการใช้วิธีการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร ร่วมกับสื่อมัลติมีเดีย กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/11 โรงเรียนวรนารีเฉลิม จังหวัดสงขลา จำนวน 42 คน ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 ซึ่งได้เลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร ร่วมกับสื่อมัลติมีเดียจำนวน 9 แผน จำนวนเวลา 18 ชั่วโมง 2) แบบทดสอบทักษะการพูดภาษาจีน 3) แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาจีน 4) แบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนต่อการเรียนโดยใช้วิธีการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร ร่วมกับสื่อมัลติมีเดีย 5) แบบสังเกตพฤติกรรมการพูดภาษาจีน และ 6) แบบสะท้อนผลการสอน สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติ t-test แบบ dependent ผลการวิจัยพบว่า 1) ทักษะการพูดภาษาจีนหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร ร่วมกับสื่อมัลติมีเดีย ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3&nbsp; หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาจีนหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้วิธีการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร ร่วมกับสื่อมัลติมีเดีย ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อการใช้วิธีการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร ร่วมกับสื่อมัลติมีเดีย อยู่ในระดับมากที่สุด</p> ปภานัน เย็นทรวง, อภิรัตน์ดา ทองแกมแก้ว, ชวนพิศ ชุมคง Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281669 Wed, 19 Feb 2025 00:00:00 +0700 ผลของโปรแกรมการจัดการเรียนการสอนตามแนวคิดการเรียนรู้แบบร่วมมือ ร่วมกับเทคนิคการปรับพฤติกรรมเพื่อพัฒนาความสามารถในการอ่าน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสามเสนนอก (ประชาราษฎร์อนุกูล) https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275572 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการจัดการเรียนการสอนตามแนวคิดการเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับเทคนิคการปรับพฤติกรรมเพื่อพัฒนาความสามารถในการอ่านของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสามเสนนอก (ประชาราษฎร์อนุกูล) งานวิจัยกึ่งทดลอง โดยมีกลุ่มเป้าหมาย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ได้โดยวิธีการเลือกแบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 15 คน จากแบบประเมินความสามารถในการอ่านต่ำกว่า 7 คะแนน จากคะแนนเต็ม 30 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1) โปรแกรมการจัดการเรียนการสอนตามแนวคิดการเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมกับเทคนิคการปรับพฤติกรรมเพื่อพัฒนาความสามารถในการอ่านของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 2) แบบประเมินความสามารถทางด้านการอ่าน 3) แบบบันทึกการเรียนรู้ของนักเรียน และ 4) แบบสอบถามความคิดเห็นของนักเรียนหลังจากเสร็จสิ้นโปรแกรมการทดลองทั้ง 10 ครั้ง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน(Standard Deviation) และการทดสอบค่าสถิติ Non Parametric Statistics (The Wilcoxon Matches Pairs Signed Rank Test)</p> <p> ผลการวิจัยพบว่า โปรแกรมการจัดการเรียนการสอนตามแนวคิดการเรียนรู้แบบร่วมมือ ร่วมกับเทคนิคการปรับพฤติกรรม เพื่อพัฒนาความสามารถในการอ่านของนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนสามเสนนอก (ประชาราษฎร์อนุกูล) สามารถพัฒนาการอ่านของนักเรียนชั้นประถม ศึกษาปีที่ 4 โดยนักเรียนกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโปรแกรม มีคะแนนจากแบบประเมิน ความสามารถด้านการอ่าน ภายหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 </p> นิษา สินศาสตร์, มนัสนันท์ หัตถศักดิ์, จิตตินันท์ บุญสถิรกุล Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275572 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการฟื้นฟูภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรีเขต 2 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281671 <p>&nbsp;การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) ศึกษาความคิดเห็นของครูที่มีต่อบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษา ในการฟื้นฟูภาวะถดถอยการเรียนรู้ สังกัดสำนักเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 2&nbsp; 2) เปรียบเทียบความคิดเห็นของครูที่มีต่อบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการฟื้นฟูภาวะถดถอยการเรียนรู้ สังกัดสำนักเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 2 โดยจําแนก ตามเพศ&nbsp; ระดับการศึกษา ประสบการณ์การทํางาน และขนาดโรงเรียน 3) ศึกษาแนวทางในการส่งเสริมการฟื้นฟูภาวะถดถอยการเรียนรู้ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 2 &nbsp;ผลการวิจัยพบว่า 1) บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในการฟื้นฟูภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ของโรงเรียนสังกัดสำนักเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 2 ในภาพรวมและรายด้านมีบทบาทอยู่ในระดับ มาก ทุกด้าน โดยค่าเฉลี่ยสูงสุดคือบทบาทด้านความปลอดภัยและขวัญกำลังใจ รองลงมาคือ ด้านสร้างทัศนคติที่ดีต่อการเรียนรู้ ด้านพัฒนาและเชื่อมโยงคลังสื่อดิจิทัล ด้านเสริมพลังพัฒนาครูและบุคลากร&nbsp; ด้านออกแบบการเรียนรู้ใหม่&nbsp; ด้านสร้างการมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ และด้านยกระดับการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยี ตามลำดับ 2) ผลการเปรียบเทียบพบว่าครูที่มีเพศและระดับการศึกษาต่างกัน มีความคิดเห็นต่อบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาไม่แตกต่างกัน ส่วนครูที่มีประสบการณ์และขนาดโรงเรียนต่างกันมีความคิดเห็นต่อบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05</p> สายทิพย์ สุขโข, ชลาภรณ์ สุวรรณสัมฤทธิ์ Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281671 Wed, 19 Feb 2025 00:00:00 +0700 “กาฬสินธุ์โมเดล” กลยุทธ์การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันขององค์การ : การศึกษาเพื่อพัฒนา โครงการนำร่องส่วนจัดการที่ราชพัสดุ สำนักงานธนารักษ์พื้นที่กาฬสินธุ์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/276133 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพแวดล้อมภายนอกและภายในที่ส่งผลต่อการออกแบบกลยุทธ์ต่อการสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน 2) วิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรคที่ส่งผลต่อการออกแบบกลยุทธ์ต่อการสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน และ 3) จัดทำข้อเสนอแนะทางกลยุทธ์ในการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของส่วนจัดการที่ราชพัสดุ สำนักงานธนารักษ์พื้นที่กาฬสินธุ์ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ผลการศึกษาพบว่า 1) สภาพแวดล้อมภายนอกที่ส่งผลต่อการออกแบบกลยุทธ์จากการวิเคราะห์ด้วย PEST Analysis และ Five-Forces Model ปรากฏว่า มีเพียงปัจจัยทางด้านการเมือง ปัจจัยด้านสภาพสังคม ปัจจัยทางด้านเทคโนโลยีเท่านั้นที่ส่งผลต่อการออกแบบกลยุทธ์ และสภาพแวดล้อมภายในที่ส่งผลต่อการออกแบบกลยุทธ์จากการวิเคราะห์ด้วย McKinsey’s 7S Model ปรากฏว่า องค์ประกอบของสภาพแวดล้อมภายในทุกองค์ประกอบล้วนส่งผลต่อการออกแบบกลยุทธ์ทั้งสิ้น 2) จุดแข็งขององค์การ คือ การที่เจ้าหน้าที่มีทักษะ มีความรับผิดชอบในการปฏิบัติงาน และการได้รับความสนับสนุนจากภาครัฐด้านทรัพยากร ส่วนจุดอ่อนขององค์การ คือ ขาดความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของเจ้าหน้าที่ และการปฏิบัติงานที่ถูกกำหนดไว้ด้วยระเบียบและกฎหมายเป็นจำนวนมากและยากต่อการเข้าใจ ทั้งยังมีจำนวนบุคลากรน้อยเกินไป ด้านโอกาสขององค์การ คือ การที่บุคคลหรือหน่วยงานอื่นซึ่งมาติดต่อขอรับบริการให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี และเจ้าหน้าที่ยังได้รับขวัญกำลังใจจากภาครัฐเป็นสวัสดิการที่เพิ่มเติมนอกเหนือจากเงินเดือน ด้านอุปสรรคขององค์การ คือ การปฏิบัติงานถูกกำหนดไว้ด้วยระเบียบและกฎหมายเป็นจำนวนมากและยากต่อการทำความเข้าใจ และความไม่สมดุลกันระหว่างภาระงานที่เจ้าหน้าที่ได้รับ และ 3) กลยุทธ์ SO คือ ให้บริการด้วยความรวดเร็วและบริหารทรัพยากรอย่างเป็นธรรมเพื่อเกิดประสิทธิภาพสูงสุด กลยุทธ์ WO คือ เสริมสร้างความรู้ในการปฏิบัติงานจากผู้เชี่ยวชาญ และลดภาระงานของเจ้าหน้าที่ กลยุทธ์ ST: ให้บริการด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย รวดเร็ว และสอดคล้องกับการรับบริการ กลยุทธ์ WT : ยกระดับความรู้ความเข้าใจในการรับบริการให้มีมาตรฐานสูงขึ้นเพื่อความรวดเร็วในการรับบริการ และยุทธศาสตร์การปรับปรุง : ส่งเสริมกิจกรรมสันทนาการเพื่อเพิ่มช่องทางการสื่อสารภายในหน่วยงานทุกรูปแบบ</p> กันตพงศ์ ใจวงษ์, จิตรลดา ไชยะ Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/276133 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 การพัฒนาชุดกิจกรรมการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้วิธีการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค STAD สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/276001 <p class="p2"><span class="s1">การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ</span><span class="s2"> 1) </span>พัฒนาชุดกิจกรรมการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้วิธีการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค<span class="s3"> STAD </span>สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่<span class="s3"> 6 </span>ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน<span class="s3"> 80/80 </span><span class="s2">2) </span>เปรียบเทียบทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ ระหว่างก่อนเรียนกับหลังเรียน <span class="s1">และ</span><span class="s2"> 3) </span>ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่ต่อ<span class="s3"><br /></span>ชุดกิจกรรมการอ่านภาษาอังกฤษ <span class="s1">กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย</span> <span class="s4">ได้แก่</span> <span class="s4">นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่</span><span class="s5"> 6 </span><span class="s4">โรงเรียนประชารัฐสามัคคี</span> <span class="s4">กลุ่มส่งเสริมประสิทธิภาพ</span><span class="s1">การศึกษาวารินชำราบ</span><span class="s2"> 5 </span><span class="s1">สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี</span><span class="s2"> <br /></span><span class="s1">เขต</span><span class="s2"> 4 </span><span class="s1">ภาคเรียนที่</span><span class="s2"> 2</span> ปีการศึกษา<span class="s3"> 2566 </span>จำนวน<span class="s3"> 37 </span>คน ซึ่งได้มาโดยวิธีสุ่มแบบกลุ่ม <span class="s1">เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย</span> <span class="s1">คือ</span><span class="s2"> <br />1) </span><span class="s4">ชุดกิจกรรมการอ่านภาษาอังกฤษ</span> <span class="s2">2) </span><span class="s4">แบบทดสอบวัดทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ</span> และ<span class="s3"> 3) </span>แบบสอบถามความ<span class="s3"><br /></span>พึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อชุดกิจกรรมการอ่านภาษาอังกฤษ <span class="s4">สถิติที่ใช้ใน</span>การวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย<span class="s3"> <br /></span>ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานด้วยค่าที</p> <p class="p3"><span class="s3"><strong> <span class="Apple-converted-space"> </span></strong></span><strong>ผลการวิจัยพบว่า</strong></p> <p class="p2"><span class="s2">1. </span><span class="s1">ชุดกิจกรรมการอ่านภาษาอังกฤษโดยใช้วิธีการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค</span><span class="s2"> STAD </span><span class="s1">สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่</span><span class="s2"> 6 </span><span class="s1">มีประสิทธิภาพ</span><span class="s2"> 85.50/84.12 </span><span class="s1">ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐาน</span> <span class="s1">ที่ตั้งไว้</span><span class="s2"> 80/80</span></p> <p class="p2"><span class="s2"> 2. </span><span class="s6">นักเรียนมีทักษะการอ่านภาษาอังกฤษหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ</span><span class="s7"> .01</span></p> <p class="p2"><span class="s2"> 3. </span>นักเรียนมีความพึงพอใจต่อชุดกิจกรรมการอ่านภาษาอังกฤษระดับมาก</p> ชณัชดา เอกนิตย์, สรรพสิริ ส่งสุขรุจิโรจน์, กชกร ธิปัตดี Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/276001 Wed, 19 Feb 2025 00:00:00 +0700 สมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษา ที่ส่งผลต่อความเป็นเลิศทางวิชาการของผู้เรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครศรีธรรมราช https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275899 <p>การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษา เพื่อศึกษาความเป็นเลิศทางวิชาการของผู้เรียน และเพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาสมรรถนะของผู้บริหารที่ส่งผลต่อความเป็นเลิศทางวิชาการของผู้เรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครศรีธรรมราช กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูผู้สอนในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครศรีธรรมราช จำนวน 338 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ</p> สุรศักดิ์ นาคดี, นิลรัตน์ นวกิจไพฑูรย์, นพรัตน์ ชัยเรือง Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275899 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 การศึกษาความต้องการจำเป็นและแนวทางการพัฒนาการบริหารงานงบประมาณของผู้บริหารสถานศึกษา ในสหวิทยาเขตพุทธชินราช สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา พิษณุโลก อุตรดิตถ์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275894 <p>การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมาย 1) เพื่อศึกษาความต้องการจำเป็นในการบริหารงานงบประมาณของผู้บริหารสถานศึกษาในสหวิทยาเขตพุทธชินราช ประชากร ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูในสหวิทยาเขตพุทธชินราช จำนวน 266 คน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูจำนวน 159 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ แบบการตอบสนองคู่ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าดัชนีลำดับความสำคัญของความต้องการจำเป็น 2) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาการบริหารงานงบประมาณของผู้บริหารสถานศึกษาในสหวิทยาเขตพุทธชินราช เครื่องมือที่ใช้ คือแบบสัมภาษณ์ กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 ท่าน โดยการเลือกกลุ่มผู้ให้ข้อมูลแบบเจาะจง และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา</p> <p>ผลการวิจัยพบว่า 1) ค่าดัชนีลำดับความสำคัญของความต้องการจำเป็น ในการบริหารงานงบประมาณของผู้บริหารสถานศึกษา ในภาพรวมมีค่าเท่ากับ .11&nbsp; เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าดัชนีลำดับความสำคัญสูงสุด คือ ด้านการบริหารการเงินและควบคุมงบประมาณ สถานศึกษา 2) แนวทางการพัฒนาการบริหารงานงบประมาณของผู้บริหารสถานศึกษาในสหวิทยาเขตพุทธชินราช จากการสัมภาษณ์ทรงคุณวุฒิมีความคิดเห็นสอดคล้องกันสูงสุด คือ (1) ด้านการวางแผนงบประมาณ ผู้บริหารสถานศึกษาควรมีการตรวจสอบการใช้งบประมาณเป็นระยะตามแผนการปฏิบัติงาน (2) ด้านการคำนวณต้นทุนผลผลิต ผู้บริหารสถานศึกษาควรมีการวางแผนการใช้งบประมาณ รายจ่าย ต้นทุนตามประเภทของงบประมาณ เพื่อ ป้องกันการใช้งบประมาณแบบไม่คุ้มค่า</p> <p>(3) ด้านการจัดระบบการจัดหา ผู้บริหารสถานศึกษาควรมีการประมาณการ เปรียบเทียบราคา ต้นทุน เพื่อง่ายต่อการตัดสินใจในการจัดซื้อจัดจ้าง (4) ด้านการบริหารการเงินและควบคุมงบประมาณ ผู้บริหารสถานศึกษาควรวิเคราะห์ SWOT เพื่อวางแผนการใช้งบประมาณและดูขีดจำกัดของสถานศึกษา (5) ด้านการรายงานการเงินและผลการดำเนินงาน ผู้บริหารสถานศึกษาควรมีการวิเคราะห์ปัญหา กำหนดวิธีการแก้ปัญหา จัดทำฐานข้อมูลของปัญหา (6) ด้านการบริหารสินทรัพย์ ผู้บริหารสถานศึกษาควรส่งเสริมการมีส่วนร่วมให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องมีความเชื่อมั่นในการบริหารสินทรัพย์นั้น (7) ด้านการตรวจสอบภายใน ผู้บริหารสถานศึกษาควรแต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบภายใน&nbsp; และรายงานผลการดำเนินงาน และรายงายผลตามระยะเวลาที่กำหนด</p> สุดารัตน์ แสงผึ้ง, นิคม นาคอ้าย Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275894 Fri, 07 Mar 2025 00:00:00 +0700 ความต้องการจำเป็นในการพัฒนาภาวะผู้นำการเรียนรู้ของผู้บริหารโรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/276091 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการพัฒนาภาวะผู้นำการเรียนรู้ของผู้บริหารโรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย <br>2) เพื่อวิเคราะห์ความต้องการจำเป็นของการพัฒนาภาวะผู้นำการเรียนรู้ของผู้บริหารโรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย โดยมีประชากร คือ โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย ผู้อำนวยการและรองผู้อำนวยการโรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ทั้ง 12 แห่ง จำนวน 52 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ&nbsp; แบบสอบถามสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ มีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าดัชนีลำดับความต้องการจำเป็น ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพปัจจุบันของการพัฒนาภาวะผู้นำการเรียนรู้ของผู้บริหารโรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ในภาพรวมทุกด้านอยู่ในระดับมาก โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านการใช้เทคโนโลยีในการวิจัยและพัฒนา ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ ด้านการมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน และสภาพที่พึงประสงค์ของการพัฒนาภาวะผู้นำการเรียนรู้ของผู้บริหารโรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ในทุกด้านอยู่ในระดับมากที่สุด โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ด้านการใช้เทคโนโลยีในการวิจัยและพัฒนา รองลงมาคือ ด้านการทำงานเป็นทีมและการมีภาวะผู้นำร่วม ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ ด้านการมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน 2) ความต้องการจำเป็นของการพัฒนาภาวะผู้นำการเรียนรู้ของผู้บริหารโรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย พบว่า ด้านที่มีความต้องการจำเป็นสูงที่สุด คือ การมีความใฝ่เรียนรู้ รองลงมาคือ การทำงานเป็นทีมและการมีภาวะผู้นำร่วม การใช้เทคโนโลยีในการวิจัยและพัฒนา และการมีวิสัยทัศน์ร่วมกัน ตามลำดับ</p> คมกริช เพ็ชรพลอย, เพ็ญวรา ชูประวัติ Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/276091 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 การศึกษาความฉลาดทางอารมณ์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 3 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275728 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบความฉลาดทางอารมณ์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 3&nbsp; โดยใช้ระเบียบวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ แบ่งเป็น 2 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1 ศึกษาเอกสารแนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ขั้นที่ 2 การประเมินความเหมาะสมขององค์ประกอบความฉลาดทางอารมณ์ของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 3 โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ &nbsp;แบบสังเคราะห์เอกสาร แบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน</p> <p>&nbsp; &nbsp; &nbsp; &nbsp;ผลการวิจัยพบว่า ความฉลาดทางอารมณ์ของผู้บริหารสถานศึกษาตามความคิดเห็นของครูใน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 3 ในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก (= 4.52) &nbsp;โดยเรียงลำดับจากค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการเข้าใจผู้อื่น (= 4.80) ด้านการควบคุมอารมณ์ตนเอง (= 4.80) ด้านการตระหนักรู้ตนเอง(= 4.60) ด้านการมีทักษะทางสังคม (= 4.40) และด้านการสร้างแรงจูงใจแก่ตนเอง&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; (= 4.00)</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;</p> ณัฐธิดา ไชยยศ, อภิสิทธิ์ ศรีสมสุข, บุญมี ก่อบุญ Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275728 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 ความสัมพันธ์ระหว่างทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 กับประสิทธิผลของโรงเรียนตามความคิดเห็นของผู้บริหารและครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุรินทร์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/276038 <p>บทความ นี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 และระดับประสิทธิผลของโรงเรียน 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับทักษะของผู้บริหารสถานศึกษา จำแนกตามขนาดของสถานศึกษา 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 กับประสิทธิผลของโรงเรียน กลุ่มตัวอย่าง คือผู้บริหารสถานศึกษาและครูในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุรินทร์ จำนวน 140 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ 0.99 โดยค่าความเชื่อมั่นทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 เท่ากับ 0.98 และค่าความเชื่อมั่นประสิทธิผลของโรงเรียน เท่ากับ 0.98 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าความแปรปรวนทางเดียว และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุรินทร์ ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และระดับประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุรินทร์ ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด 2) การเปรียบเทียบทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุรินทร์ จำแนกตามขนาดของสถานศึกษาในภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน 3) ความสัมพันธ์ระหว่างทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 กับประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุรินทร์ มีความสัมพันธ์ทางบวก อยู่ในระดับค่อนข้างสูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01</p> กษิดิศ ผู้สมเก่า, วสันต์ชัย กากแก้ว, พนา จินดาศรี Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/276038 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 การศึกษาองค์ประกอบภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275720 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาองค์ประกอบภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา โดยวิจัยแบ่งเป็น 2 ขั้นตอน ประกอบด้วย ขั้นตอนที่ 1 การสังเคราะห์องค์ประกอบภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา โดยศึกษาจากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง จำนวน 10 แหล่ง เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสังเคราะห์องค์ประกอบ สถิติที่ใช้ คือ ความถี่และร้อยละ ขั้นตอนที่ 2 การประเมินความเหมาะสมขององค์ประกอบภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถามมาตราส่วนประเมินค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ คือ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจับพบว่า องค์ประกอบภาวะผู้นำเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหารสถานศึกษา ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) การสร้างวิสัยทัศน์ 2) การเผยแพร่วิสัยทัศน์ 3) การปฏิบัติตามวิสัยทัศน์ 4) การเป็นแบบอย่างที่ดี โดยทุกองค์ประกอบมีความเหมาะสมในระดับมากที่สุด และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านทุกด้านอยู่ในอยู่ในระดับมากที่สุด</p> จุฑาทิพย์ บุตรแสนคม, อภิสิทธิ์ ศรีสมสุข, บุญมี ก่อบุญ Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275720 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 ทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/276039 <p> การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 2) เพื่อศึกษาระดับทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 และ 3) เพื่อหาแนวทางพัฒนาทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 กระบวนการศึกษาผู้วิจัยสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลหลัก จำนวน 3 คน เพื่อสร้างเครื่องมือในการวิจัย กลุ่มประชากร 3,000 คน คือ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้สอน โดยสุ่มกลุ่มตัวอย่างตามตารางเครจซี่และมอร์แกน (Krejcie and Morgan, 1970) จำนวน 341 คน วิเคราะห์ข้อมูลหาค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ยกร่างแนวทางจากกระบวนการสนทนากลุ่ม (Focus Group) โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 คน และประเมินความเหมาะสมและความเป็นไป โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสัมภาษณ์ และแบบสอบถาม</p> <p> ผลการวิจัย พบว่า 1) ทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ประกอบด้วย 5 ทักษะ (1) ทักษะการปรับตัว (2) ทักษะผู้นำวิชาการ (3) ทักษะผู้นำการเปลี่ยนแปลง (4) ทักษะการนิเทศยุคใหม่ (5) ทักษะการสอนงาน และสัมภาษณ์ผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 1 ของโรงเรียนที่มีวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) 2) ระดับทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 โดยรวมอยู่ในระดับมาก (x ̅= 4.42, S.D. = 0.56) 3) แนวทางการพัฒนาทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 ได้แนวทาง ทั้งสิ้น 26 แนวทาง และประเมินแนวทางการพัฒนาทักษะการบริหารของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 มีความเหมาะสมและความเป็นไปได้โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด</p> รินทร์ลิตา รัตนพิบูลย์กุล, วสันต์ชัย กากแก้ว, ศุภธนกฤษ ยอดสละ Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/276039 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 การพัฒนานวัตกรในการเรียนการงานอาชีพ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275295 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำแนวคิดกระบวนการคิดเชิงออกแบบมาพัฒนานวัตกรในการเรียนการงานอาชีพ ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสตรีวิทยา ในรายวิชา ง20201 เครื่องดื่มตามสมัยนิยม และให้ผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 25 คน พิจารณาความถูกต้อง เหมาะสม โดยใช้แบบสอบถามแสดงความคิดเห็น วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย 1) ได้รายวิชา ง20201 เครื่องดื่มตามสมัยนิยม&nbsp; คำอธิบายรายวิชา โครงสร้างรายวิชา และ แผนจัดการเรียนรู้ ที่ใช้กระบวนการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) และการเรียนรู้แบบร่วมมือ มาจัดการเรียนการสอน โดยมีเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนให้เป็นนวัตกรในการเรียนการงานอาชีพ 2) ผู้ทรงคุณวุฒิส่วนใหญ่มีความเห็นในระดับมากที่สุดว่ารายวิชาที่พัฒนาขึ้นตาม ข้อ 1) มีลำดับขั้นตอนตามกระบวนการเรียนรู้&nbsp; มีความเหมาะสม และเชื่อมโยงกันในแต่ละหน่วย สามารถนำไปใช้ในการปฏิบัติการสอนได้จริง</p> ปิยะดา จันทร์พิมี, ศิริรัตน์ ศรีสอาด, นาตยา ปิลันธนานนท์ Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275295 Tue, 11 Feb 2025 00:00:00 +0700 รูปแบบการจัดกิจกรรมอบรมเยาวชนของวัดป่าสว่างวีรวงศ์ อำเภอสว่างวีระวงศ์ จังหวัดอุบลราชธานี https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281519 <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; บทความนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1)เพื่อการศึกษาแนวคิดและทฤษฎีการจัดกิจกรรมอบรมเยาวชน 2) เพื่อศึกษาการจัดกิจกรรมอบรมเยาวชนของวัดป่าสว่างวีรวงศ์ อำเภอสว่างวีระวงศ์ จังหวัดอุบราชธานี 3) เพื่อวิเคราะห์รูปแบบการจัดกิจกรรมอบรมเยาวชนของวัดป่าสว่างวีรวงศ์ อำเภอสว่างวีรวงศ์ จังหวัดอุบราชธานี วิธีดำเนินการวิจัย ใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพวิเคราะห์รูปแบบการอบรมจากเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง คู่มือรูปแบบหลักสูตรการอบรม การถอดบทเรียนของผู้เข้าอบรม</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยพบว่า 1) แนวคิดและทฤษฎีการจัดกิจกรรมอบรมเยาวชน มักจะจัดขึ้นในฐานะกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรมให้แก่เด็กนักเรียน โดยกลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่จะเป็นเด็กนักเรียนทุกระดับ โดยกิจกรรมสะท้อนให้เห็นถึงค่านิยมอันดีงามของพุทธศาสนิกชนชาวไทย มีวิทยากรหลักเป็นพระสงฆ์ ตามขั้นตอนและกระบวนการอบรมเพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ และมีทัศนคติที่ดีสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้จริง 2) การจัดกิจกรรมอบรมเยาวชนของวัดป่าสว่างวีรวงศ์ ได้นำรูปแบบของวัดป่าสว่างวีรวงศ์ เป็นรูปแบบหลักสูตรการฝึกอบรม และ3) วิเคราะห์รูปแบบการจัดกิจกรรมอบรมเยาวชนของวัดป่าสว่างวีรวงศ์แต่ละหลักสูตรของการอบรมเยาวชน แบ่งเนื้อหาตามระดับชั้นเรียนของเยาวชนตามอายุผู้เข้าอบรม ตามระยะเวลาการอบรม และขึ้นอยู่กับความต้องการของหน่วยงาน ความจำเป็นและปัญหาของแต่ละกลุ่ม เป็นหลักสูตรระยะสั้น กิจกรรมหลัก ๆดังนี้ กิจกรรมลงทะเบียน/พิธีเปิด กิจกรรมการบวชชีพราหมณ์ กิจกรรมการปฐมนิเทศ กิจกรรมงามมารยาทชาวพุทธ กิจกรรมการรับประทานอาหาร กิจกรรมการตักบาตรตอนเช้า กิจกรรมทำวัตรสวดมนต์ เช้า-เย็น กิจกรรมทำความสะอาด และ กิจกรรมการลาสิกขา</p> พระครูปัญญาธรรมวัฒน์ ติกฺขปญฺโญ สมไว, พระครูสุธีปทุมากร หงษ์ศรี, เฉลิมพร ดาศรี, กุลญาดา เรือนแก้ว Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281519 Thu, 13 Feb 2025 00:00:00 +0700 แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 1 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274358 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ1) เพื่อศึกษาสภาพที่เป็นจริงและสภาพที่พึงประสงค์ของภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 1&nbsp; 2) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 1 โดยวิธีการวิจัยเชิงพรรณนา กลุ่มตัวอย่างคือผู้บริหารและครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 1 จำนวน 302 คน โดยใช้การสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ ระยะที่ 1 การศึกษาเชิงปริมาณโดยใช้แบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม 0.986 ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าสถิติ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และจัดลำดับความต้องการจำเป็น ระยะที่ 2 การศึกษาเชิงคุณภาพโดยการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน โดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหาและนำเสนอโดยการพรรณนา</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยพบว่า ภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 1 ในสภาพที่เป็นจริงอยู่ในระดับปานกลาง&nbsp; สภาพที่พึงประสงค์ โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด &nbsp;และด้านที่มีความต้องการจำเป็นมากที่สุดคือ ด้านการสร้างความไว้วางใจ (PNI<sub>Modified </sub>= 0.767) &nbsp;</p> <p><strong>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; </strong>แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 1 ผู้บริหารควรดำเนินการ ดังนี้ 1) ด้านการสร้างความไว้วางใจ ควรเอาใจเขามาใส่ใจเรามีสติรู้เท่าทันอารมณ์ความคิดของตัวเอง &nbsp;2) ด้านการอุทิศตนเพื่อส่วนรวม ควรละวางความเห็นแก่ตัว ตั้งใจทำคุณประโยชน์แก่ส่วนรวมไม่ใช่เพื่อตนเอง 3) ด้านความซื่อสัตย์ ควรบริหารงานด้วยความชัดเจนตรวจสอบได้ บริหารทรัพยากรที่มีให้เกิดประโยชน์สูงสุด&nbsp; 4) ด้านการสร้างวิสัยทัศน์ร่วม เปิดโอกาสให้บุคลากรสะท้อนปัญหาตามความจริง สื่อสารวิสัยทัศน์ให้นำไปสู่การปฏิบัติ &nbsp;5) ด้านการสร้างความศรัทธา ควรมีความหนักแน่นไม่หวั่นไหว วางตัวเป็นกลางเข้าถึงได้ง่าย เป็นธรรมทุกฝ่าย รู้จักให้เกียรติ และปรับตัวให้เข้ากับบริบทของชุมชน</p> ระพีพัฒน์ พันธุระ, ประมุข ชูสอน, สิทธิชัย สอนสุภี Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274358 Tue, 11 Feb 2025 00:00:00 +0700 วัฒนธรรมคุณภาพที่ส่งผลต่อประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 1 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274525 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาวัฒนธรรมคุณภาพในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 1 2) เพื่อศึกษาประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 1 และ 3) เพื่อศึกษาวัฒนธรรมคุณภาพที่ส่งผลต่อประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของครู สังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน จำนวน 302 คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่น 0.963 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม IBM SPSS Statistics เพื่อหาค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน</p> <p>ผลการวิจัยพบว่า</p> <p>1) วัฒนธรรมคุณภาพในสถานศึกษา โดยภาพรวมมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านวิสัยทัศน์มุ่งคุณภาพและการบริการ ด้านที่มีค่าเฉลี่ยรองลงมา คือ ด้านการสร้างแรงจูงใจในการทำงาน และด้านการทำงานเป็นทีม ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ ด้านการจัดการกลยุทธ์มุ่งคุณภาพ</p> <p>2) ประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของครู โดยภาพรวมมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมากที่สุดทุกด้าน เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการจัดการชั้นเรียน รองลงมา คือ ด้านคุณภาพผู้เรียน และด้านการจัดการเรียนรู้</p> <p>3) วัฒนธรรมคุณภาพที่ส่งผลต่อประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของครู จำนวน 5 ด้าน ได้แก่ วิสัยทัศน์มุ่งคุณภาพและการบริการ การทำงานเป็นทีม การจัดการกลยุทธ์มุ่งคุณภาพ การพัฒนาวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง และการสร้างแรงจูงใจในการทำงาน สามารถพยากรณ์ประสิทธิผลในการปฏิบัติงานของครู ได้ร้อยละ 82.30 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สามารถสร้างสมการถดถอยในรูปคะแนนดิบและคะแนนมาตรฐานได้ ดังนี้</p> <p> สมการในรูปคะแนนดิบ</p> <p> Y = 1.261 + 0.726(X1) + 0.266(X4) + 0.125(X5) + 0.101(X2) + 0.074(X3)</p> <p>สมการพยากรณ์ในรูปแบบคะแนนมาตรฐาน</p> <p> Zy = 0.838(ZX1) + 0.364(ZX4) + 0.167(ZX5) + 0.137(ZX2) + 0.105(ZX3)</p> ธัญชนิต ชลประทาน, วัลลภา อารีรัตน์ Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274525 Tue, 11 Feb 2025 00:00:00 +0700 แนวทางการพัฒนาสถานศึกษาที่ยั่งยืน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาหนองคาย https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274519 <p>การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการพัฒนาสถานศึกษาที่ยั่งยืนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาหนองคาย&nbsp; 2) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาสถานศึกษาที่ยั่งยืนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาหนองคาย ผู้บริหารและครูในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาหนองคาย ใช้เกณฑ์สำหรับกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างตามตารางของเครซี่และมอร์แกน ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 290 คน โดยระยะที่ 1 เป็นการเก็บข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้แบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม 0.998&nbsp; วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าสถิติ ค่าความถี่&nbsp; ร้อยละ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และจัดเรียงลำดับความต้องการจำเป็น (PNIModified )&nbsp;&nbsp; ระยะที่ 2 การเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยใช้แบบสัมภาษณ์การสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 คน ด้วยการวิเคราะห์เนื้อหาเพื่อหาและนำเสนอโดยวิธีการพรรณนา</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยพบว่า สภาพปัจจุบันของแนวทางการพัฒนาสถานศึกษาที่ยั่งยืน โดยรวมอยู่ในระดับน้อย และสภาพที่พึงประสงค์ โดยรวม อยู่ในระดับมากที่สุด จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่าระดับสภาพที่เป็นจริงมีค่าเฉลี่ยต่ำกว่าระดับสภาพที่พึงประสงค์เป็นรายด้านทุกด้าน โดยความต้องการจำเป็นในแนวทางการพัฒนาสถานศึกษาที่ยั่งยืน องค์ประกอบที่มีความต้องการจำเป็นมากที่สุด ลำดับที่ 1 ได้แก่ ด้านวางแผนการพัฒนาที่ยั่งยืน&nbsp; (PNIModified= 1.00) ลำดับที่ 2 ได้แก่ ด้านกำกับและติดตามอย่างเป็นระบบ&nbsp;&nbsp; (PNIModified =0.92) และลำดับที่ 3 ได้แก่ ด้านจัดการเรียนการสอนเชิงรุก&nbsp;&nbsp; (PNIModified = 0.91)</p> <p>&nbsp;</p> <p>ผลการศึกษาแนวทางการพัฒนาสถานศึกษาที่ยั่งยืน&nbsp; พบว่าควรดำเนินการต่อไปนี้</p> <p>1) การวางแผนการพัฒนาที่ยั่งยืน&nbsp; ผู้บริหารควรกำหนดทิศทางขององคกรที่มีความชัดเจน&nbsp; มีการวางแผนเชิงกลยุทธ์ โดยมีผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา รวมถึงผู้มีส่วนเกี่ยวข้องร่วมวางแผนและกำหนดทิศทางขององคกรร่วมกัน เพื่อความเข้าใจร่วมกันถึงแผนการพัฒนาสถานศึกษาและบรรลุจุดประสงค์ที่วางไว้</p> <p>2) จัดการเรียนการสอนเชิงรุก&nbsp; ผู้บริหารควรส่งเสริมการออกแบบหลักสูตรสถานศึกษา&nbsp; ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน&nbsp; ให้ครูได้หาความรู้เพิ่มเติมเพื่อพัฒนาการสอน ไม่ว่าจะทางออนไลน์หรือออนไซด์ ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมทั้งในชั้นเรียนและออนไลน์สนับสนุนให้ผู้เรียนกล้าแสดงออกเพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ของตัวผู้เรียน</p> <p>3) ส่งเสริมบุคลากรอย่างสร้างสรรค์&nbsp; ผู้บริหารควรส่งเสริมให้มีการสร้างขวัญและกำลังใจให้ครูมีแรงกำลังใจในการทำงาน&nbsp; ส่งเสริมการเรียนรู้การพัฒนาตัวเองทั้งด้านการใช้สื่อเทคโนโลยี ด้านการใช้ภาษาที่สอง&nbsp; และด้านการสร้างนวัตกรรม</p> <p>4) พัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง&nbsp;&nbsp; ผู้บริหารควรส่งเสริมให้ครูใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเป็นเครื่องมือในการสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ และก้าวทันโลกปัจจุบัน ปรับปรุงสภาพแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ของผู้เรียน&nbsp; ควรพัฒนาแหล่งเรียนรู้&nbsp; และส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม</p> <p>5) กำกับและติดตามอย่างเป็นระบบ&nbsp; การวัดและประเมินผลต้องชัดเจน&nbsp; และสร้างเครื่องมือวัดและประเมินผลที่เหมาะสม&nbsp;&nbsp; ประเมินผลตามสภาพจริง และนำผลการประเมินไปสู่การพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง&nbsp;&nbsp; เพื่อการพัฒนาตัวผู้สอน ผู้เรียน และสถานศึกษาต่อไป</p> <p>6) รับผิดชอบต่อสังคม ผู้บริหารควรส่งเสริมให้มีการร่วมมือกันระหว่างสถานศึกษา&nbsp; ผู้ปกครองและชุมชนในการอำนวยความสะดวกการเรียนรู้ของผู้เรียนตามบริบทของชุมชน&nbsp; เปิดโอกาสให้ผู้ปกครองและชุมชนได้แสดงความคิดเห็นกับการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ และส่งเสริมให้ชุมชนเป็นแหล่งเรียนรู้นอกห้องเรียน เพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ของตัวผู้เรียน</p> ชลธิชา กลมเกลียว, ประมุข ชูสอน Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274519 Tue, 11 Feb 2025 00:00:00 +0700 สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อองค์กรแห่งความสุข สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 1 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274520 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) ศึกษาระดับสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 1 2) ศึกษาระดับองค์กรแห่งความสุข สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 1 และ3) เพื่อศึกษาสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อองค์กรแห่งความสุข สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาหนองคาย เขต 1 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน จำนวน 302 คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่น 0.97 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรม IBM SPSS Statistics เพื่อหาค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษา โดยภาพรวมมีระดับค่าเฉลี่ยอยูในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านความฉลาดทางดิจิทัล รองลงมาคือ ด้านการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านการสร้างทีมงานคุณภาพ องค์กรแห่งความสุขของสถานศึกษา โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยรายด้าน ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ด้านความเป็นมืออาชีพของครู และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านสภาพแวดล้อมน่าอยู่และด้านครูมีความสุข สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อองค์กรแห่งความสุข เรียงตามลำดับ ได้แก่ ด้านความฉลาดทางดิจิทัล การสร้างทีมงานคุณภาพ การบริหารจัดการตนเอง การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ และการบริหารการเปลี่ยนแปลง มีค่าสัมประสิทธิ์อำนาจพยากรณ์องค์กรแห่งความสุข ร้อยละ 75.50 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05</p> วราภรณ์ เสนาวัง, บุญฤทธิ์ เพ็รชวิศิษฐ์, วัลลภา อารีรัตน์ Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/274520 Tue, 11 Feb 2025 00:00:00 +0700 แนวทางการบริหารงานกิจการนักเรียนของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาบึงกาฬ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275181 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารงานกิจการนักเรียนของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาบึงกาฬ 2) เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารงานกิจการนักเรียนของสถานศึกษา สังกัดสำนักงานพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาบึงกาฬ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครู จำนวน 285 โดยระยะที่ 1 เป็นการเก็บข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้แบบสอบถามมีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม 0.88 วิเคราะห์ข้อมูล ด้วยค่าสถิติ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และจัดเรียงลำดับความสำคัญของความต้องการจำเป็น (PNI<sub>Modified</sub> ) ระยะที่ 2 การเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยเนื้อหา และนำเสนอโดยวิธีการพรรณนา</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยพบว่า สภาพปัจจุบันของการบริหารงานกิจการนักเรียนของสถานศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับน้อย และสภาพที่พึงประสงค์ โดยรวม อยู่ในระดับมาก จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่าระดับสภาพที่เป็นจริงมีค่าเฉลี่ยต่ำกว่าระดับสภาพที่พึงประสงค์เป็นรายด้านทุกด้าน โดยความต้องการจำเป็นในการพัฒนาการบริหารงานกิจการนักเรียนของสถานศึกษา องค์ประกอบที่มีความต้องการจำเป็นมากที่สุด ลำดับที่ 1 ได้แก่ 1) ด้านการส่งเสริมให้นักเรียนมีจิตสาธารณะ (PNI<sub>Modified</sub>= 0.93) ที่ 2) ด้านการส่งเสริมสุขอนามัยและความปลอดภัย (PNI<sub>Modified</sub> =0.90) และ 3) ด้านการควบคุมและแก้ไขพฤติกรรมนักเรียน (PN<sub>IModified</sub> = 0.89) 4) ด้านการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (PNI<sub>Modified</sub> =0.88) 5) ด้านการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน (PNI<sub>Modified</sub> =0.87) 6) ด้านการส่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียน (PNI<sub>Modified</sub> =0.85)</p> <p>ผลการศึกษาแนวทางการบริหารงานกิจการนักเรียนของสถานศึกษา ควรดำเนินการต่อไปนี้ 1) ด้านการส่งเสริมให้นักเรียนมีจิตสาธารณะ ควรมีการดำเนินงานในเรื่องการวางแผนและออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่บูรณาการด้านจิตสาธารณะ ส่งเสริมให้ครูและนักเรียนได้มีส่วนร่วมกับชุมชนในการแสดงออกถึงการมีจิตสาธารณะ และสร้างขวัญและกำลังใจที่ดีต่อครูและนักเรียนโดยการยกย่องเชิดชูในฐานะแบบอย่างที่ดีของโรงเรียนและชุมชน 2) ด้านการส่งเสริมสุขอนามัยและความปลอดภัย ควรมีการดำเนินงานในเรื่องการวางแผนงานด้านสุขภาพอนามัย และสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยแก่ครูและนักเรียน การสนับสนุนให้ครูและนักเรียนเข้ารับการอบรมการดูแลสุขภาพของตนเองอยู่เสมอ และจัดทำระบบข้อมูลสารสนเทศด้านสุขภาพของทุกคน 3) ด้านการควบคุมและแก้ไขพฤติกรรมนักเรียน ควรมีการดำเนินงานในเรื่องการวางแผนจัดกิจกรรมการพัฒนาทักษะชีวิตเพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีให้กับนักเรียนและการจัดตั้งภาคีเครือข่ายผู้ปกครองเพื่อร่วมกันติดตามและแก้ไขพฤติกรรมของนักเรียนร่วมกัน 4) ด้านการพัฒนาระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ควรมีการดำเนินงานในเรื่องการวางแผนสำรวจและเก็บข้อมูลนักเรียนรายบุคคลด้วยวิธีการที่หลากหลายมีระบบสารสนเทศที่ทันสมัย และสร้างภาคีเครือข่ายทั้งภายนอกและภายในด้านการดูแล ติดตาม ช่วยเหลือ และส่งต่อ อย่างเป็นระบบ 5) ด้านการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ควรมีการดำเนินงานในเรื่อง การวางแผนการจัดกิจกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อชุมชนและสังคมให้กับผู้เรียน โดยการสอดแทรก คุณธรรม จริยธรรม และคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ให้แก่ผู้เรียนแสดงออกในทางที่ดี ให้ผู้เรียนเห็นคุณค่าในตนเองอย่างแท้จริง 6) ด้านการส่งเสริมประชาธิปไตยในโรงเรียน ควรมีการดำเนินงานในเรื่องการวางแผนการจัดกิจกรรม การจัดระบบข้อมูลสารสนเทศและการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการด้านประชาธิปไตยเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมให้นักเรียนรู้จักเคารพตนเองและเคารพสิทธิของผู้อื่น</p> อนุชิต พลฤทธิ์, สิทธิชัย สอนสุภี, กรองแก้ว กิ่งสวัสดิ์ Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275181 Tue, 11 Feb 2025 00:00:00 +0700 การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับการประกันคุณภาพ สถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาบึงกาฬ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275290 <p>การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับการประกันคุณภาพสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาบึงกาฬ 2)เพื่อศึกษาแนวทางการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับการประกันคุณภาพสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาบึงกาฬ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารและครู จำนวน 285 คน โดยระยะที่ 1 การเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถามมีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามเท่ากับ 0.827 สถิติที่ใช้ คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าความต้องการจำเป็น (PNI<sub>Modified</sub>) ระยะที่ 2 การเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ ใช้แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง โดยการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา และนำเสนอโดยวิธีการพรรณนา</p> <p>ผลการวิจัยพบว่า สภาพปัจจุบันของการทางการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับการประกันคุณภาพสถานศึกษาโดยรวมอยู่ในระดับน้อยและสภาพพึงประสงค์โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยความต้องการจำเป็นของการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับการประกันคุณภาพสถานศึกษา เรียงตามลำดับความต้องการจำเป็นสูงสุด คือ 1) การดำเนินการตามแผนพัฒนาคุณภาพ (PNI<sub>Modified</sub>=1.26) 2) การรายงานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา (PNI<sub>Modified</sub>=1.21) 3) การตรวจประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษา (PNI<sub>Modified</sub>=0.98 ) 4) การกำหนดมาตรฐานการศึกษา (PNI<sub>Modified</sub>=0.81) และ 5) การวางแผนพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา(PNI<sub>Modified</sub>=0.79 )</p> <p>แนวการพัฒนาการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับการประกันคุณภาพสถานศึกษา ควรดำเนินการดังนี้ 1) ด้านการกำหนดมาตรฐานการศึกษาสถานศึกษาควรมีการกำหนดวัตถุประสงค์ที่ชัดเจนสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาผ่านแพลตฟอร์มดิจิทัล และพัฒนาการจัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อผลลัพธ์ผู้เรียน 2) ด้านการวางแผนพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา ควรจัดระบบเก็บข้อมูลสารสนเทศดิจิทัลให้สะดวกต่อนำไปใช้ ปรับปรุงข้อมูลให้มีคุณภาพทันสมัย และกำหนดผู้รับผิดชอบดูแลระบบจัดเก็บเอกสารสารสนเทศดิจิทัล 3) ด้านการดำเนินการตามแผนพัฒนาคุณภาพ ควรนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้ในการบริหารสถานศึกษาสร้างวัฒนธรรมคุณภาพแบบมีส่วนร่วมโดยเน้นการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล 4) ด้านการรายงานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ควรเปิดเผยข้อมูลรายงานผลการประเมินตนเองในรูปแบบสารสนเทศดิจิทัล นำสารสนเทศจากผลการประเมินมาปรับปรุงพัฒนาระบบงานและคุณภาพสถานศึกษาอย่างต่อเนื่องและเผยแพร่ผ่านแพลตฟอร์มดิจิทัล 5) ด้านการตรวจประเมินคุณภาพภายนอกสถานศึกษา ควรนำเสนอข้อมูลการประกันคุณภาพในรูปแบบสารสนเทศดิจิทัล นำผลการประเมินมาใช้ในการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษาโดยผ่านระบบสารสนเทศดิจิทัล</p> ณัฐพงษ์ พิมพ์ภักดี, สิทธิชัย สอนสุภี, กรองแก้ว กิ่งสวัสดิ์ Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275290 Tue, 11 Feb 2025 00:00:00 +0700 แนวทางการบริหารการเปลี่ยนแปลงเชิงกลยุทธ์ของโรงเรียนขนาดเล็ก สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275289 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาสภาพที่เป็นจริงและสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารการเปลี่ยนแปลงเชิงกลยุทธ์ของโรงเรียนขนาดเล็ก สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ 2) เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารการเปลี่ยนแปลงเชิงกลยุทธ์ของโรงเรียนขนาดเล็ก สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ โดยเป็นวิจัยเชิงพรรณนา กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครู จำนวน 255 คน กำหนดขนาดตัวอย่างด้วยตารางเครจซีและมอร์แกน และทำการสุ่มกลุ่มตัวอย่างอย่างง่าย ระยะที่ 1 เป็นการเก็บข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้แบบสอบถามมีค่าความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม 0.976 วิเคราะห์ข้อมูล ด้วยค่าสถิติค่าความถี่ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และจัดเรียงอันดับความสำคัญของความต้องการจำเป็น ระยะที่ 2 การเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยวิเคราะห์ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา และนำเสนอโดยวิธีการพรรณนา</p> กฤษฎา ทองพูล, สิทธิชัย สอนสุภี, วัลลภา อารีรัตน์ Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275289 Tue, 11 Feb 2025 00:00:00 +0700 ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวที่มีต่อการท่องเที่ยวชุมชนบ้านผาหมี อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275890 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวที่มีต่อการท่องเที่ยวชุมชนบ้านผาหมี อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ประชากรคือนักท่องเที่ยวชาวไทยที่เดินทางเข้ามาท่องเที่ยวในชุมชนบ้านผาหมี ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย โดยทดสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาจากผู้เชี่ยวชาญ 3 คน และทดสอบความเชื่อมั่น โดยมีค่าความเชื่อมั่นของเครื่องมือวิจัยทั้งฉบับเท่ากับ 0.92 ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้สถิติพื้นฐานและสถิติอนุมาน ประกอบด้วย ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t-test และค่า F-test หรือ One-way ANOVA ผลการศึกษา พบว่า 1) ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว โดยรวมทุกด้าน พบว่า ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวที่มีต่อการท่องเที่ยวชุมชนบ้านผาหมี อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด 2) การเปรียบเทียบความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชุมชนบ้านผาหมี อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย พบว่า ปัจจัยด้านเพศต่างกัน มีผลต่อพึงพอใจของนักท่องเที่ยว ด้านกิจกรรมการท่องเที่ยวและด้านที่พักแตกต่างกัน ปัจจัยด้านอายุต่างกัน มีผลต่อพึงพอใจของนักท่องเที่ยว ด้านการเข้าถึงและด้านที่พักแตกต่างกัน และปัจจัยด้านรายได้ต่างกัน มีผลต่อพึงพอใจของนักท่องเที่ยวแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05</p> วิสสุตา หมื่นตื้อ Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275890 Tue, 11 Feb 2025 00:00:00 +0700 การพัฒนาทักษะการสนทนาภาษาอังกฤษของนักเรียนประถมศึกษา ด้วยสื่อออนไลน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275395 <p style="font-weight: 400;">ปัจจุบันมีสื่อมากมายที่พร้อมให้ครูนำมาใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ ทักษะการสนทนาภาษาอังกฤษเป็นทักษะสำคัญทั้งต่อการดำเนินชีวิต และในการเรียนภาษาอังกฤษ ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงมีแนวคิดในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่เหมาะกับสื่อที่มีอยู่แล้ว จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างชุดกิจกรรม และพัฒนาทักษะการสนทนาภาษาอังกฤษของนักเรียนประถมศึกษาตอนปลาย โดย 1) กำหนดประเด็น เรื่อง และวัตถุประสงค์ในการสนทนา 2) คัดเลือกสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ ที่เหมาะสม 3) ออกแบบกิจกรรมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 4) ประเมินคุณภาพชุดกิจกรรมที่คัดสรรไว้ โดยผู้ทรงคุณวุฒิ ด้านหลักสูตรและการสอน และด้านภาษาอังกฤษ รวม 26 คน 5) ศึกษาผลการพัฒนาทักษะการสนทนา จากนักเรียนที่เป็นอาสาสมัคร กลุ่มละ 10 คน จำนวน 7 กลุ่ม แล้วประเมินทักษะการสนทนาของนักเรียน รวมทั้งสอบถามความเห็นเกี่ยวกับชุดกิจกรรมที่ได้เรียนไป ผลการวิจัย ได้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะการสนทนาภาษาอังกฤษ สำหรับนักเรียนประถมศึกษา จำนวน 7 ชุด ที่ใช้สื่อออนไลน์ เป็นสื่อหลักในการสร้างบทสนทนา และออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ที่ผู้ทรงคุณวุฒิ มีความเห็นว่าเหมาะสมมากที่สุด เมื่อนำไปใช้นักเรียนส่วนใหญ่ มีทักษะการสนทนาภาษาอังกฤษ และพึงพอใจที่ได้เรียนจากชุดกิจกรมเหล่านี้ มีเพียงบางส่วน ที่ยังมีปัญหาด้านการออกเสียง</p> อมรรัตน์ นวะศรี, ศิริรัตน์ ศรีสอาด, นาตยา ปิลันธนานนท์ Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275395 Tue, 11 Feb 2025 00:00:00 +0700 รูปแบบการส่งเสริมสมรรถนะครูโรงเรียนไตรมิตรในการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะสำคัญของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281672 <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; การวิจัยมีจุดประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาข้อมูลพื้นฐานและสภาพความต้องการรูปแบบการส่งเสริมสมรรถนะครูโรงเรียนไตรมิตรในการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะสำคัญของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 2) พัฒนารูปแบบการส่งเสริมสมรรถนะครู 3) ทดลองใช้รูปแบบการส่งเสริมสมรรถนะครู และ 4) ประเมินผลกระทบ การใช้รูปแบบการส่งเสริมสมรรถนะครู ผลการวิจัยพบว่า 1) ข้อมูลพื้นฐานและสภาพความต้องการ ได้แก่ กฎหมาย นโยบายและแนวคิดทฤษฎีทางการศึกษาที่เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะสำคัญของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ปัญหาที่ต้องแก้ไขเร่งด่วน คือผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ ผู้เรียนขาดทักษะสำคัญในศตวรรษที่ 21 ครูยังขาดความรู้ความเข้าใจและไม่ได้รับการส่งเสริมให้จัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะสำคัญของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 อย่างจริงจัง 2) รูปแบบการส่งเสริมสมรรถนะครูโรงเรียนไตรมิตรในการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะสำคัญของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 มีชื่อว่า CENTURY Model ซึ่งมีองค์ประกอบหลัก 7 ขั้น ได้แก่ ขั้นที่ 1 Context Analysis : C ขั้นที่ 2 Experience : E ขั้นที่ 3 Novelty : N ขั้นที่ 4 Teaching plan : T ขั้นที่ 5 Unimate learning : U ขั้นที่ 6 Result study : R ขั้นที่ 7 Yield Reflection : Y 3) ผลการทดลองใช้รูปแบบ พบว่า ผลการประเมิน การฝึกอบรม อยู่ในระดับมากที่สุด ( x̄ = 4.59, S.D = 0.52) ผลการทดสอบความรู้ความเข้าใจแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สมรรถนะการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ อยู่ในระดับมากที่สุด( x̄ = 4.65, S.D. = 0.47) สมรรถนะการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ อยู่ในระดับมากที่สุด ( x̄ = 4.63, S.D. = 0.45) และ 4) ผลการประเมินผลกระทบการใช้รูปแบบ พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทักษะสำคัญของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมาก ( x̄ = 4.48, S.D. = 0.42) ความพึงพอใจที่มีต่อรูปแบบโดยภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุด ( x̄ = 4.58, S.D. = 0.48) จากการสนทนากลุ่ม พบว่า องค์ประกอบรูปแบบมีความเหมาะสมและสอดคล้องซึ่งกันและกัน เป็นการส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาทั้งด้านสมรรถนะการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะสำคัญของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 และสมรรถนะการนิเทศภายในอีกด้วย</p> ณรงค์ฤทธิ์ แขมคำ Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/281672 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 องค์ประกอบการบริหารเชิงกลยุทธ์และความเป็นเลิศของโรงเรียน https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/276277 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาองค์ประกอบการบริหารเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารและความเป็นเลิศของโรงเรียน โดยใช้กระบวนการวิจัยเชิงปริมาณ ซึ่งมีวิธีการดำเนินการวิจัย 2 ขั้นตอน ได้แก่ <strong>ขั้นตอนที่ </strong><strong>1</strong> การสังเคราะห์จากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องขององค์ประกอบการบริหารเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหาร จำนวน 10 แหล่ง และความเป็นเลิศของโรงเรียน จำนวน 12 แหล่ง <strong>ขั้นตอนที่ </strong><strong>2</strong> การประเมินความเหมาะสมขององค์ประกอบการบริหารเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารและความเป็นเลิศของโรงเรียน &nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;โดยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสังเคราะห์เอกสารและแบบสอบถามชนิดมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า องค์ประกอบการบริหารเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารมี 4 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม 2) การกำหนดกลยุทธ์ 3) การนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ และ 4) การประเมินกลยุทธ์ โดยการตรวจสอบความเหมาะสมพบว่าทุกองค์ประกอบมีความเหมาะสมอยู่ในระดับผู้รับบริการ 4) การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 5) การมุ่งเน้นบุคลากร 6) การมุ่งเน้นการปฏิบัติ และ 7) ผลลัพธ์ โดยการตรวจสอบความเหมาะสมพบว่าทุกองค์ประกอบมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากขึ้นไป</p> ชุภิดา ไชยพิเดช, เอกลักษณ์ เพียสา, วาโร เพ็งสวัสดิ์ Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/276277 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 ความต้องการจำเป็นของกระบวนการนิเทศภายในโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐานของครูโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา ๒ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/276383 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของกระบวนการนิเทศภายในโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐานของครูโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา ๒ และ 2) วิเคราะห์ความต้องการจำเป็นของกระบวนการนิเทศภายในโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐานของครูโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา ๒ ประชากร คือ ครูโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา ๒ ทั้งหมด จำนวน 122 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามความคิดเห็น เกี่ยวกับกระบวนการนิเทศภายในโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐานของครูโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา ๒ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ( ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( ) และค่าดัชนีความต้องการ PNI (Priority Needs Index)</p> <p><strong> </strong></p> <p><strong>ผลการวิจัยพบว่า</strong></p> <ol> <li class="show">การศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพพึงประสงค์ของกระบวนการนิเทศภายในโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐานของครูโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา ๒ สภาพปัจจุบัน พบว่าอยู่ในระดับมาก โดยเรียงค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย ดังนี้ 1) ด้านการวางแผนการนิเทศ 2) ด้านการศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการ 3) ด้านการปฏิบัติการนิเทศการสอน 4) ด้านการสร้างสื่อและเครื่องมือ และ 5) ด้านการประเมินผลและรายงานผล ส่วนสภาพพึงประสงค์ พบว่าอยู่ในระดับมาก โดยเรียงค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย ดังนี้ 1) ด้านการวางแผนการนิเทศ 2) ด้านการศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการ 3) ด้านการปฏิบัติการนิเทศการสอน 4) ด้านการประเมินผลและรายงานผล และ 5) ด้านการสร้างสื่อและเครื่องมือ </li> </ol> <ol start="2"> <li class="show">การวิเคราะห์ความต้องการจำเป็นของกระบวนการนิเทศภายในโดยใช้ห้องเรียนเป็นฐานของครูโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สตรีวิทยา ๒ พบว่าประเด็นที่มีความต้องการจำเป็น 3 ลำดับแรก โดยเรียงลำดับค่าดัชนีความต้องการ ดังนี้คือ ด้านการวางแผนการนิเทศ ด้านการประเมินผลและรายงานผล และด้านการศึกษาสภาพปัญหาและความต้องการ ตามลำดับ</li> </ol> ปริษา ไกยสวน, ประภาวรรณ ตระกูลเกษมสุข Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/276383 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 ปัจจัยที่ส่งผลต่อการทำงานเป็นทีม กรณีศึกษา สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/276669 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการทำงานเป็นทีมของบุคลากรในสำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 2) เปรียบเทียบการทำงานเป็นทีมของบุคลากรในสำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จําแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ข้าราชการ พนักงานราชการ และลูกจ้างประจำในสำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จํานวน 2,645 คน &nbsp;กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยคำนวณจากสูตรการหาขนาดกลุ่มตัวอย่างของเครจชี่และมอร์แกน ได้กลุ่มตัวอย่างการวิจัยจำนวน 336 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างโดยอาศัยหลักความน่าจะเป็นด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ ซึ่งผ่านการตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 3 ท่าน และนำแบบสอบถามไปทดลองใช้กับประชากรที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 30 ชุด เพื่อนำมาหาค่าความเชื่อมั่นโดยการวิเคราะห์หาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาด้วยวิธีการของครอนบัค ได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของแบบสอบถามภาพรวมทั้งฉบับเท่ากับ 0.98 ซึ่งเป็นค่าความเชื่อมั่นที่ยอมรับได้ และนำไปใช้เพื่อเก็บข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่างที่ทำการวิจัย&nbsp; ผลการวิจัยพบว่า 1) การทำงานเป็นทีมของบุคลากรในสำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2) ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุที่แตกต่างกันจะมีการทำงานเป็นทีมของบุคลากรในสำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์แตกต่างกัน ผลการวิจัยนี้สามารถนำข้อมูลมาใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาการทำงานร่วมกันเป็นทีมภายในหน่วยงาน เพื่อเพิ่มศักยภาพในการปฏิบัติงาน ส่งผลให้เกิดคุณภาพสูงสุดในการปฏิบัติงานของทีมที่รับผิดชอบต่อไป</p> กษิดิศ พนอนุอุดมสุข, วิลาสินี จินตลิขิตดี Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/276669 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 การส่งเสริมทักษะพื้นฐานทางด้านคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย โดยใช้กิจกรรมเกมการศึกษา Comparing Games https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/276495 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยโดยรวมและจำแนกรายทักษะ หลังการใช้กิจกรรมเกมการศึกษา Comparing Games และเพื่อเปรียบเทียบการพัฒนาทักษะทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย ก่อนและหลังการจัดกิจกรรมเกมการศึกษา Comparing Games และซึ่งกลุ่มเป้าหมาย ในการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ เด็กนักเรียนชายและหญิง อายุรหะว่าง 4-5 ปี ในระดับชั้นอนุบาลปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย โดยการจับฉลากเลือกจำนวน 1 ห้องเรียน จากจำนวน 2 ห้องเรียน จำนวน 32 คน รวมระยะเวลาในการทดลอง 8 สัปดาห์ 3 วัน วันละ 30 นาที เครื่องมือและนวัตกรรมที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1.แผนการจัดประสบการณ์โดยใช้กิจกรรม Comparing Games 2.แบบทดสอบเชิงปฏิบัติการทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย วิธีวิจัยเป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าเฉลี่ย &nbsp;ส่วนเบี่ยงเบนมาตฐาน (S.D.) และการทดลองสมมติฐานโดยใช้สถิติ t-test แบบ Dependent Samples ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการวิจัยที่มีต่อการส่งเสริมทักษะทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัยด้วยกิจกรรมเกมการศึกษา Comparing Games ของนักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ 2 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี พบว่าเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมเกมการศึกษา Comparing Games หลังการจัดกิจกรรมมีทักษะทางคณิตศาสตร์สูงขึ้น มีคะแนนเฉลี่ยมากกว่าก่อนการจัดกิจกรรมอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ<strong><em> .</em></strong>05 2) เด็กปฐมวัยที่ได้รับการส่งเสริมทักษะทางคณิตศาสตร์ด้วยกิจกรรมเกมการศึกษา Comparing Games มีทักษะทางคณิตศาสตร์สูงขึ้นอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ<strong><em> .</em></strong>05</p> ปรีชญาภรณ์ อาริภู, ทิพากร บุญยกุลศรีรุ่ง Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/276495 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 ระบบสารสนเทศผ้าแส่วมรดกทางภูมิปัญญาท้องถิ่นจังหวัดศรีสะเกษ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/276520 <p>การวิจัยเรื่อง ระบบสารสนเทศผ้าแส่วมรดกทางภูมิปัญญาท้องถิ่นจังหวัดศรีสะเกษ มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาระบบสารสนเทศผ้าแส่วมรดกทางภูมิปัญญาท้องถิ่นจังหวัดศรีสะเกษ และเพื่อประเมินประสิทธิภาพและศึกษาความพึงพอใจในการใช้ระบบสารสนเทศผ้าแส่วมรดกทางภูมิปัญญาท้องถิ่นจังหวัดศรีสะเกษ โดยเป็นการวิจัยแบบผสมผสาน คือ การวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกตพฤติกรรม และใช้แบบสอบถามประมิน ความพึงใจของระบบสารสนเทศ ซึ่งกลุ่มตัวอย่างได้จากการเลือกแบบเฉพาะเจาะจง ของสมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนผ้าแส่ว จำนวน 40 คน และประเมินประสิทธิภาพในการใช้ระบบสารสนเทศ จากผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 7 คน โดยใช้สถิติพื้นฐานในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน</p> <p> ผลการศึกษาวิจัยพบว่า ระบบสารสนเทศผ้าแส่วมรดกทางภูมิปัญญาท้องถิ่นจังหวัดศรีสะเกษสามารถทำงานได้ตามที่กำหนดไว้ และผลการประเมินประสิทธิภาพของระบ[สารสนเทศ พบว่า ด้านความง่ายต่อการใช้งานระบบ อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.29 ด้านการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลในระบบ อยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.57 และด้านการทำงานได้ตามฟังก์ชันงานของระบบ อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.47 และผลการประเมินความพึงพอใจในการใช้ระบบสารสนเทศ โดยรวมเกี่ยวกับฐานข้อมูลในส่วนของเนื้อหาในระดับมาก </p> ธีรพงศ์ สงผัด Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/276520 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 การพัฒนาทักษะการฟังภาษาอังกฤษด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้นิทานร่วมกับแบบฝึกทักษะของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/276581 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบทักษะการฟังภาษาอังกฤษด้วยการจัดการเรียนรู้โดย<br />ใช้นิทานภาษาอังกฤษร่วมกับแบบฝึกทักษะระหว่างก่อนเรียนกับหลังเรียน และ 2) ศึกษาความพึงพอใจทีมีต่อ<br />การจัดการเรียนรู้วิชาภาษาอังกฤษโดยใช้นิทานภาษาอังกฤษร่วมกับแบบฝึกทักษะ ประชากรที่ใช้ในการวิจัย<br />คือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มโรงเรียนในเครือข่ายอำเภอจุฬาภรณ์ สำนักนักงานเขตพื้นที่การศึกษา<br />ประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 3 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2567 ทั้งหมด 18 โรงเรียน จำนวน 249 คน<br />โดยแต่ละโรงเรียนมีจำนวนห้องเรียนชั้นละ 1 ห้องเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้น<br />ประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2567 โรงเรียนทัศนาวลัย จำนวน 14 คน ผู้วิจัยได้ใช้วิธีการสุ่ม<br />อย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้นิทาน<br />ภาษาอังกฤษร่วมกับแบบฝึกทักษะของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 2) แบบวัดทักษะการฟังภาษาอังกฤษ<br />ของผู้เรียน และ 3) แบบประเมินความพึงพอใจโดยใช้นิทานร่วมกับแบบฝึกทักษะ ผลการวิจัยพบว่า 1) ทักษะ<br />การฟังภาษาอังกฤษโดยการจัดการเรียนรู้ด้วยการใช้นิทานร่วมกับแบบฝึกทักษะของนักเรียนชั้นประถมศึกษา<br />ปีที่ 4 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 2) ความพึงพอใจต่อการจัดการ<br />เรียนรู้โดยใช้นิทานภาษาอังกฤษร่วมกับแบบฝึกทักษะ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (xˉ= 4.13, S.D. = 0.31)</p> คณิตา นุราภักดิ์, เก็ตถวา บุญปราการ Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/276581 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 แนวทางการพัฒนาครูเพื่อจัดการเรียนรู้เชิงรุกในโรงเรียนสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/276609 <p>การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ ความต้องการจำเป็น และแนวทางการพัฒนาครูเพื่อจัดการเรียนรู้เชิงรุก กลุ่มตัวอย่าง คือ ครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 จำนวน 365&nbsp; คน โดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน และกลุ่มผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 3 ท่าน เครื่องมือการวิจัย คือ แบบสอบถาม (ค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับ เท่ากับ .984) และแบบสัมภาษณ์ สถิติวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ (Frequency), ค่าเฉลี่ย (), ร้อยละ (Percentage), ดัชนีความต้องการจำเป็น (PNI<sub>modified</sub>) และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพปัจจุบันของการพัฒนาครูเพื่อจัดการเรียนรู้เชิงรุก อยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน (= 3.45) เรียงลำดับด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 ด้าน คือ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การใช้และพัฒนาสื่อการเรียนรู้ และการวัดและประเมินผล สำหรับสภาพที่พึงประสงค์ อยู่ในระดับมากทุกด้าน (= 4.43) เรียงลำดับด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด 3 ด้าน คือ การวัดและประเมินผล การออกแบบการเรียนรู้ และการใช้และพัฒนาสื่อการเรียนรู้ และ 2) ความต้องการจำเป็นในการพัฒนาครูเพื่อจัดการเรียนรู้เชิงรุก เรียงลำดับได้ดังนี้ การออกแบบการเรียนรู้ การส่งเสริมสนับสนุนการวัดสมรรถนะครูด้านการวัดและประเมินผล และการพัฒนาครูให้มีความพร้อมด้านวิชาการ 3) แนวทางการพัฒนาครูเพื่อการจัดการเรียนรู้เชิงรุกจากผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารการศึกษา คือ การจัดอบรมการวิเคราะห์หลักสูตร และออกแบบการเรียนรู้ร่วมกันในกลุ่มสาระการเรียนรู้ อบรมพัฒนาครูตามความสนใจ และนับชั่วโมงที่นำไปใช้จริงเป็นส่วนหนึ่งของความก้าวหน้าทางวิชาชีพ ตลอดจนสร้างกรอบความคิดในการวัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาผู้เรียน และวัดสมรรถนะครูเพื่อการพัฒนาขยายผลต่อไป</p> วรินทร เทพนุรักษ์, ทิพย์พาพร มหาสินไพศาล Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/276609 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 การจัดการเรียนรู้ทักษะปฏิบัติของเดวีส์ร่วมกับเทคนิคเพื่อนช่วยเพื่อนที่ส่งเสริมทักษะปฏิบัตินาฏยศัพท์และภาษาท่า สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/276762 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาการจัดการเรียนรู้ทักษะปฏิบัติของเดวีส์ร่วมกับเทคนิคเพื่อนช่วยเพื่อน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีประสิทธิภาพ (E1/E2) ตามเกณฑ์ 80/80 2) ศึกษาทักษะปฏิบัตินาฏยศัพท์และภาษาท่าของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 หลังได้รับการจัดการเรียนรู้ทักษะปฏิบัติของเดวีส์ร่วมกับเทคนิคเพื่อนช่วยเพื่อน 3) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ก่อนเรียนและหลังเรียน และ 4) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ทักษะปฏิบัติของเดวีส์ร่วมกับเทคนิคเพื่อนช่วยเพื่อน กลุ่มที่ศึกษา คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนน้ำพองศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาขอนแก่น ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 40 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ แบบประเมินทักษะปฏิบัตินาฏยศัพท์และภาษาท่า แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และแบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t–test</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; ผลการวิจัยพบว่า 1) การจัดการเรียนรู้ทักษะปฏิบัติของเดวีส์ร่วมกับเทคนิคเพื่อนช่วยเพื่อน มีประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 86.08/87.88 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด 2) นักเรียนมีทักษะปฏิบัตินาฏยศัพท์และภาษาท่าโดยรวม หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ 4) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อกิจกรรมการเรียนรู้ โดยรวมอยู่ในระดับมาก (= 4.45, S.D. = 0.55)</p> คาริสาลิษานาฏ ค้อมสิงห์, สมาน เอกพิมพ์, พิทยวัฒน์ พันธะศรี Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/276762 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการทำงานของครู ในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษากรุงเทพมหานครเขต 1 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275734 <p style="font-weight: 400;"> การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัด สพม.กท.1 2) ศึกษาระดับแรงจูงใจในการทำงานของครูในสถานศึกษาสังกัด สพม.กท.1 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษากับแรงจูงใจของครูในสถานศึกษาสังกัด สพม.กท.1 4) ศึกษาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการทำงานของครูในสถานศึกษาสังกัด สพม.กท.1 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัด สพม.กท.1 จำนวน 59 แห่ง ประกอบด้วย ผู้อำนวยการสถานศึกษา รองผู้อำนวยการสถานศึกษาหรือหัวหน้าฝ่ายบุคคล และครูผู้สอน รวมทั้งสิ้น 354 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และ การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน</p> <p style="font-weight: 400;"> ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาโดยภาพรวมอยู่ ในระดับมาก 2) ระดับแรงจูงใจในการทำงานของครูโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก 3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษากับแรงจูงใจในการทำงานของครูมีความสัมพันธ์กันเชิงบวก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 และ 4) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อแรงจูงใจในการทำงานของครูได้แก่ ด้านการสร้างแรงบันดาลใจ ด้านการมีอิทธิพลเชิงอุดมการณ์ และ ด้านความเป็นปัจเจกบุคคล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ข้อเสนอแนะ คือ ควรนำทั้ง 4 ด้าน ของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษา ไปใช้ในการพัฒนาการบริหารงานสถานศึกษาใน ทุกภาคส่วน โดยมุ่งเน้นที่การบริหารจัดการให้บุคลากรมีแรงจูงใจในการทำงาน เป็นองค์กรแห่งความสุข</p> ยุทธชาต นาห่อม, ธดา สิทธิ์ธาดา Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275734 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 มาตรการป้องกันการกระทำความผิดคดีอาญาของเด็กและเยาวชน ในศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดสุพรรณบุรี https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/276808 <p>บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยการกระทำความผิดคดีอาญาของเด็กและเยาวชน ในศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดสุพรรณบุรี และ 2) เพื่อหามาตรการป้องกันการกระทำความผิดคดีอาญาของเด็กและเยาวชน ในศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดสุพรรณบุรี การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสานวิธี กลุ่มตัวอย่างของผู้ให้ข้อมูลมีจำนวนทั้งหมด 65 คน โดยแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มตัวอย่างแรก คือ เด็กและเยาวชนที่กระทำความผิดคดีอาญาและอยู่ในความดูแลของศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดสุพรรณบุรี จำนวน 38 คน ใช้วิธีการคัดเลือกแบบคัดเข้าคัดออก เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 2 ชนิด คือ 1) แบบสอบถาม 2) แบบสัมภาษณ์ มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 1 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และกลุ่มตัวอย่างที่สอง คือ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 27 คน โดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มย่อย คือ 1) กลุ่มผู้เกี่ยวข้องกับกระบวนการยุติธรรมที่เกี่ยวการกระทำความผิดของเด็กและเยาวชนของศาลเยาวชนและครอบครัวจังหวัดสุพรรณบุรี 2) กลุ่มนักวิชาการ และ 3) กลุ่มผู้ปกครอง ใช้แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างเป็นเครื่องมือในการวิจัย</p> <p>ผลการวิจัย พบว่า 1) ข้อมูลจากเด็กและเยาวชน ประเภทความผิดที่ถูกดำเนินคดีส่วนใหญ่กระทำความผิดคดีเกี่ยวกับทรัพย์มากที่สุด ซึ่งมีสาเหตุมาจากปัจจัยส่วนบุคคลที่ส่งผลต่อการกระทำความผิดมากที่สุด ประกอบด้วย (1) การเป็นคนที่มีร่างกายแข็งแรง และ (2) ความคึกคะนองหรือสนุกสนานตามประสาวัยรุ่น ส่วนปัจจัยทางด้านครอบครัว ปัจจัยทางด้านการศึกษา และปัจจัยทางด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม โดยทั้งสามปัจจัยส่งผลในระดับต่ำ 2) ข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ระบุว่า สาเหตุการกระทำผิดของเด็กและเยาวชนมาจาก (1) ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ บทบาทการเลี้ยงดูของครอบครัว สุขภาพจิตและการใช้ยาเสพติด บุคลิกภาพ เช่น นิสัยก้าวร้าวและหุนหันพลันแล่น และอิทธิพลจากสื่อโซเชียลมีเดีย (2) ปัจจัยทางด้านครอบครัว ได้แก่ ความสัมพันธ์ภายในครอบครัวที่ขาดความรักและการใส่ใจของผู้ปกครอง ผลกระทบของการใช้ความรุนและสภาพเศรษฐกิจที่ย่ำแย่ (3) ปัจจัยทางด้านการศึกษา ได้แก่ การขาดทักษะพื้นฐานและขาดโอกาสทางการศึกษา รวมถึงการศึกษาที่มีคุณภาพ และ (4) ปัจจัยทางด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ แหล่งชุมชนที่มีการแพร่ระบาดของยาเสพติด การคบเพื่อนที่มีพฤติกรรมไม่ดี สภาพเศรษฐกิจที่ไม่ดี และสื่อโซเชียลมีเดียเชิงลบ 3) มาตรการป้องกันการกระทำผิดอาญาของเด็กและเยาวชน ได้แก่ (1) มาตรการป้องกันเชิงครอบครัวที่สนับสนุนการเลี้ยงดูที่อบอุ่นและเต็มใจ (2) มาตรการป้องกันด้านสุขภาพจิตและการให้คำปรึกษาด้านสุขภาพจิต (3) มาตรการป้องกันด้านการพัฒนาบุคลิกภาพ (4) มาตรการป้องกันโดยการเสริมสร้างความผูกพันกับครูและเพื่อนนักเรียน (5) มาตรการป้องกันโดยการสร้างชุมชนที่ปลอดภัยและเป็นมิตร</p> น้ำเพ็ชร ศรีกุลยนันทน์, ธาตรี มหันตรัตน์ Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/276808 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 การพัฒนารูปแบบการบริหารงานวิชาการตามแนวคิดการบริหารเชิงกลยุทธ์ และชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) เพื่อยกระดับคุณภาพผู้เรียนโรงเรียนอนุบาลโคกใหม่ละหานทราย https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/276812 <p> การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการใช้รูปแบบการบริหารงานวิชาการตามแนวคิดการบริหารเชิงกลยุทธ์และชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ(PLC)เพื่อยกระดับคุณภาพผู้เรียน ใช้วิธีวิจัยแบบผสาน ผลการวิจัยพบว่า การใช้รูปแบบการบริหารงานวิชาการตามแนวคิดการบริหารเชิงกลยุทธ์และชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ(PLC)เพื่อยกระดับคุณภาพผู้เรียน(ESIE<sub>PCL</sub> Model) ก่อนและหลังการใช้รูปแบบฯ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และผลการศึกษาความพึงพอใจต่อรูปแบบการบริหารงานวิชาการตามแนวคิดการบริหารเชิงกลยุทธ์และชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ(PLC)เพื่อยกระดับคุณภาพผู้เรียนของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานคณะครู ผู้ปกครองนักเรียน และนักเรียน อยู่ในระดับมากที่สุด</p> วัชระมานนท์ ผันอากาศ Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/276812 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 การพัฒนาหลักสูตรเพื่อเสริมสร้างการคิดเชิงออกแบบสำหรับนักศึกษาสาขาพลศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ วิทยาเขตลำปาง https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/276871 <p>การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและศึกษาผลการใช้หลักสูตรเพื่อเสริมสร้างการคิดเชิงออกแบบสำหรับนักศึกษาสาขาพลศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ วิทยาเขตลำปาง เป็นการวิจัยและพัฒนา โดยแบ่งเป็น 3 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 การสร้างหลักสูตร ระยะที่ 2 การนำหลักสูตรไปใช้ และ ระยะที่ 3 การประเมินผลหลักสูตร กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาพลศึกษา ชั้นปีที่ 2 จำนวน 69 คน เครื่องมือวิจัย ได้แก่&nbsp; &nbsp;1) หลักสูตรเพื่อเสริมสร้างการคิดเชิงออกแบบ 2) แบบวัดทักษะการคิดเชิงออกแบบ และ&nbsp; 3) แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการใช้หลักสูตร สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1. ผลการศึกษาความต้องการในการพัฒนาหลักสูตรเพื่อเสริมสร้างการคิดเชิงออกแบบสำหรับนักศึกษาสาขาพลศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ วิทยาเขตลำปาง มีความต้องการอยู่ในระดับมากที่สุด และผลการพัฒนาหลักสูตรเพื่อเสริมสร้างการคิดเชิงออกแบบสำหรับนักศึกษา มี 9 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) ความเป็นมาของหลักสูตร 2) ปรัชญาของหลักสูตร 3) จุดมุ่งหมายของหลักสูตร 4) ผลการเรียนรู้ของหลักสูตร 5) โครงสร้างของหลักสูตร 6) หน่วยการเรียนรู้ ประกอบด้วย 4 โมดูล ได้แก่ แรงบันดาลใจใฝ่ดี มีการทำงานแบบทีมเวิร์ก เกิดการคิดเชิงออกแบบ และร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 7) แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 8) สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ และ&nbsp; 9) การวัดและประเมินผล และ 2. ผลการใช้หลักสูตรเพื่อเสริมสร้างการคิดเชิงออกแบบสำหรับนักศึกษาสาขาพลศึกษา พบว่า การคิดเชิงออกแบบของนักศึกษาสาขาพลศึกษามีคะแนนเฉลี่ยสูงขึ้น และมีความพึงพอใจต่อการใช้หลักสูตรอยู่ในระดับมากที่สุด</p> ธารทิพย์ ขัวนา, ขวัญชัย ขัวนา Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/276871 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 การประเมินความต้องการจำเป็นในการพัฒนาการทำงานเป็นทีมของครู ในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครพนม https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/276438 <p>การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพที่เป็นจริงและสภาพที่ควรจะเป็นในการพัฒนาการทำงานเป็นทีมของในโรงเรียน 2) ประเมินความต้องการจำเป็นในการพัฒนาการทำงานเป็นทีมของครูในโรงเรียน 3) ศึกษาแนวทางในการพัฒนาการทำงานเป็นทีมของครูในโรงเรียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วยผู้บริหารและครูในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครพนม ปีการศึกษา 2566 จำนวน 345 คน จำแนกเป็นผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 31 คน และครู จำนวน 314 คน ใช้การสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi-stage Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แบบสอบถามสภาพที่เป็นจริงและสภาพที่ควรจะเป็น และ 2) แบบสอบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของแนวทางในการพัฒนาการทำงานเป็นทีมของครูในโรงเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และดัชนีลำดับความสำคัญของความต้องการจำเป็น</p> สุดารัตน์ ศรีโยหะ, วัลนิกา ฉลากบาง, เอกลักษณ์ เพียสา Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/276438 Tue, 18 Feb 2025 00:00:00 +0700 เทคโนโลยีดิจิทัลสำหรับการจัดการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์ ในศตวรรษที่ 21 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275203 <p>การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการจัดการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ในศตวรรษที่ 21 เทคโนโลยีมีความสำคัญและจำเป็น เนื่องจากในศตวรรษที่ 21 เทคโนโลยีมีบทบาทกับผู้เรียนเป็นอย่างมากในการเรียนรู้ทางอินเทอร์เน็ต โดยเฉพาะวิชาวิชาคณิตศาสตร์ได้มีการนำแอปพลิเคชัน GeoGebra ซึ่งเป็นแอปพลิเคชันแบบโอเพนซอร์ส (Open source) ที่ออกแบบมาพิเศษสำหรับการเรียนรู้และการสอนที่เกี่ยวข้องกับวิชาคณิตศาสตร์ในทุกสาระ ได้แก่ สาระจำนวนและพีชคณิต สาระการวัดและเรขาคณิต สาระสถิติและความน่าจะเป็น และสาระแคลคูลัส รวมถึงการใช้สูตรคำนวณหาค่าต่างๆ และกระบวนการประยุกต์ใช้ของคณิตศาสตร์ในรูปแบบที่หลากหลายได้อย่างละเอียด และแอปพลิเคชัน Photomath ซึ่งเป็นแอปพลิเคชันที่เกี่ยวข้องกับการแสดงกระบวนการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ได้อย่างหลากหลายวิธีมาใช้ในการจัดการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจในเนื้อหารายวิชา ตลอดจนการทำความเข้าใจกระบวนการแก้ปัญหาที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้นใน อีกทั้งยังเป็นประโยชน์ต่อตัวผู้ผู้สอนที่มีเครื่องมือในการเตรียมการสอนที่มีประสิทธิภาพในการนำไปใช้เพื่อพัฒนาผลการเรียนรู้ของผู้เรียนได้อย่างสูงสุด</p> นพณัฐ ผลทวี, ไหมไทย ไชยพันธุ์ Copyright (c) 2024 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275203 Fri, 31 Jan 2025 00:00:00 +0700 แรงจูงใจในการสมัครเป็นทหารกองประจำการ สังกัดค่ายบุรฉัตร อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275380 <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; บทความวิชาการเรื่อง แรงจูงใจในการสมัครเป็นทหารกองประจำการ สังกัดค่ายบุรฉัตร อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี แนวทางการพัฒนาวิธีการจูงใจให้สมัครใจเข้าเป็นทหารกองประจำการมากขึ้น ควรจะปรับปรุงในเรื่อง การกำหนดนโยบายที่ชัดเจนให้ทหารกองประจำการที่สมัครใจสามารถเลือกเหล่าและสังกัดได้ มีการพัฒนาการประชาสัมพันธ์ที่เพิ่มขึ้น เพื่อสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้ทั่วถึงและต่อเนื่อง โดยฉพาะข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับการสมัครเข้าเป็นทหารกองประจำการ&nbsp; เพื่อเป็นการสร้างแรงจูงใจให้ประชาชนสมัครใจเข้าเป็นทหารกองประจำการมากยิ่งขึ้น เป็นต้น และปัจจัยด้านค่าตอบแทน ควรมีการปรับปรุงเรื่องเบี้ยเลี้ยง ควรเพิ่มเงินรายได้ให้สูงขึ้นที่สอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจปัจจุบัน ปัจจัยด้านความเจริญก้าวหน้าควรเพิ่มโควตาในการเข้าศึกษาโรงเรียนทหาร ปัจจัยด้านความมีเกียรติ มีศักดิ์ศรี ควรมีการส่งเสริมภาพลักษณ์ขององค์กรให้เป็นองค์กรที่มีเกียรติ มีศักดิ์ศรีอย่างแท้จริง ปัจจัยด้านแนวทางการประกอบอาชีพ ควรสร้างมาตรฐานการทำงานจนเป็นที่ยอมรับของสังคม</p> มนภาส พูลเพิ่ม, วิจิตรา ศรีสอน Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/275380 Tue, 11 Feb 2025 00:00:00 +0700 องค์กรแห่งการเรียนรู้ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/276639 <p> องค์กรแห่งการเรียนรู้เป็นกลยุทธ์ที่สำคัญและจำเป็นต่อการบริหารองค์กรยุคใหม่ ซึ่งจะเป็นยุคที่เน้นการพัฒนาโดยการสร้างฐานความรู้ ทรัพย์สินทางปัญญา และเป็นรูปแบบองค์กรที่ใช้ทัศนะการมององค์กรแบบองค์รวม คือ ปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ และเป็นการพัฒนาแบบยั่งยืน เพราะให้ความสำคัญกับการเรียนรู้ตลอดชีวิต การบริหารสถานศึกษาให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้มีองค์ประกอบที่จำเป็นต่อการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ คือ ด้านโครงสร้างองค์กรที่มีการติดต่อสัมพันธ์ภายในองค์กรเป็นไปอย่างสะดวก สอดแทรกโอกาสในการเรียนรู้ เข้าไปในกระบวนการทำงานมีการจัดโครงสร้างที่เอื้ออำนวยต่อการปฏิบัติงานของบุคลากร วิสัยทัศน์และกลยุทธ์องค์กรที่มีการจัดทำแผนกลยุทธ์อย่างเป็นรูปธรรมเพื่อความสำเร็จขององค์กร วิสัยทัศน์มีขอบเขตที่ชัดเจน สามารถนำไปสู่การปฏิบัติได้และวิสัยทัศน์มุ่งสร้างความเปลี่ยนแปลงให้เกิดขึ้นในองค์กร การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในทุกด้านที่ท้าทายความสำเร็จและความอยู่รอดขององค์กรอย่างกว้างขวาง ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวอาจเป็นปัญหาหรือโอกาสในการพัฒนาองค์กรอย่างก้าวกระโดดขึ้นอยู่กับวิธีการ แนวคิด หรือเป้าหมายในการนำองค์กรให้บรรลุเป้าหมาย และดำรงอยู่ท่ามกลางความเปลี่ยนแปลง โดยมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืนของผู้นำองค์กรและบุคลากรในองค์กร การหาคำตอบดังกล่าวอาจมีความหลากหลายและแตกต่างกันออกไปตามบริบทและสภาพแวดล้อม ซึ่งแนวคิดในการพัฒนาองค์กรจะเน้นในเรื่องของความรู้ นั่นคือการให้ความสำคัญในการพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ซึ่งจะต้องมีการปรับเปลี่ยนและจัดการอย่างเป็นระบบ เพื่อรักษาองค์กรให้ก้าวเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้</p> กฤษฎา สินธุสนธิชาติ, สนั่น ประจงจิตร Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/276639 Tue, 11 Feb 2025 00:00:00 +0700 การบริหารการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/276708 <p>บทความเรื่อง&nbsp; การบริหารการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21&nbsp; มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอผลจากการวิเคราะห์ สังเคราะห์ แนวคิดจากการศึกษาเอกสาร งานวิจัย แนวคิดทฤษฎีของนักวิชาการทั้งไทยและต่างประเทศ&nbsp; ที่เกี่ยวข้องกับหลักการ แนวทาง และ เงื่อนไขความสำเร็จในการบริหารการเปลี่ยนแปลงขององค์กรท่ามกลางบริบทการเปลี่ยนแปลงที่ส่งผลกระทบต่อองค์กรได้แก่ การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บริบทการเปลี่ยนแปลงด้านสังคม วัฒนธรรม การเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ และสถานการณ์โรคอุบัติใหม่ โรคอุบัติซ้ำ ผู้นำองค์กรจำเป็นต้องนำหลักการบริหารการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 มาปรับใช้ให้เหมาะสม การเปลี่ยนแปลงในองค์กรที่สำคัญ ได้แก่1) การเปลี่ยนแปลงวิสัยทัศน์ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย กลยุทธ์&nbsp; ภารกิจ&nbsp; 2) การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยี&nbsp; 3) การใช้วิธีการบริหาร</p> <p>&nbsp;</p> <p>&nbsp;</p> <p>_________________________________</p> <p>[1] นักศึกษาหลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกริก</p> <p>[1] อาจารย์ ดร. สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกริก</p> <p>จัดการสมัยใหม่และเป็นสากล&nbsp; 4) การสื่อสารการเปลี่ยนแปลง 5) การใช้ศักยภาพบุคลากรและการสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ 5) กำหนดโครงสร้าง หน้าที่ขององค์กร และบุคลากร 6) การเตรียมเตรียมทรัพยากรและสิ่งอำนวยความสะดวกในการบริหารการเปลี่ยนแปลง 7) การสร้างวัฒนธรรมองค์กร 8) ภาวะผู้นำ และการสร้างสวัสดิการ สวัสดิภาพความมั่นคง ให้กับบุคลากร 9) การเปลี่ยนแปลงเชิงระบบ 10) การเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรม&nbsp; และพบว่า การบริหารการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 จะประสบผลสำเร็จได้ดีเพียงใดขึ้นอยู่กับปัจจัย สำคัญคือ ความเข้มแข็งของผู้นำ หากผู้นำที่เข้มแข็ง แสดงภาวะผู้นำที่เหมาะสม ผู้นำมีทักษะในการบริหารจัดการสมัยใหม่ และเข้าใจแนวแนวทางในบริหารการเปลี่ยนแปลง จะช่วยให้ขับเคลื่อนภารกิจขององค์กร สามารถนำพาองค์กรสู่การเปลี่ยนแปลงที่สอดคล้องกับบริบทการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ 21 อย่างความยั่งยืน&nbsp;</p> <p>&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp;&nbsp; บทความนี้ จะเป็นประโยชน์กับผู้นำองค์กรทุกระดับ รวมทั้งการศึกษาวิจัย เกี่ยวกับการบริหารการเปลี่ยนแปลงให้เหมาะสมกับองค์กรในศตวรรษที่ 21</p> <p>&nbsp;</p> พัทยา เล็กปราง, สนั่น ประจงจิตร Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/276708 Tue, 11 Feb 2025 00:00:00 +0700 สมรรถนะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของครูสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/276334 <p>สมรรถนะเป็นผลรวมของความรู้ความสามารถและศักยภาพในด้านต่าง ๆ ของบุคคลที่แสดงออกมาให้เป็นที่ประจักษ์ เป็นผลลัพธ์จากการสั่งสมความรู้และการพัฒนาทักษะอย่างต่อเนื่องผ่านการเรียนรู้และประสบการณ์ที่ได้รับ สมรรถนะเป็นการผสมผสานระหว่างทักษะ องค์ความรู้ พฤติกรรม และคุณลักษณะต่าง ๆ เป็นปัจจัยสำคัญที่สามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน สมรรถนะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ของครู เป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อคุณภาพการเรียนรู้และการพัฒนาของนักเรียน ครูที่มีสมรรถนะสูง จะสามารถพัฒนาผู้เรียนได้อย่างเต็มศักยภาพ ดังนั้น การพัฒนาและส่งเสริมสมรรถนะในการจัดการเรียนรู้ของครูจึงเป็นสิ่งจำเป็น องค์ประกอบสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ของครู ประกอบด้วย ความสามารถในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ความสามารถในการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ ความสามารถในการใช้สื่อและเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้ ความสามารถในการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ของผู้เรียน และความสามารถในการพัฒนาการสร้างองค์ความรู้ของผู้เรียน โดยการพัฒนาครู สามารถทำได้หลายวิธี เช่น การปฐมนิเทศ การฝึกอบรมขณะปฏิบัติงาน การสอนงาน การหมุนเวียนงาน การฝึกอบรมโดยโปรแกรมพิเศษ การฝึกอบรมโดยการฝึกงาน การศึกษาดูงาน กรุงเทพมหานครเป็นเมืองหลวงที่มีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาอย่างรวดเร็ว ครูสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานครจึงจำเป็นต้องปรับตัวและนำเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาใช้ในการจัดการเรียนรู้ เพื่อเตรียมนักเรียนให้พร้อมรับมือกับความท้าทายของโลกปัจจุบันและอนาคต การมีสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 จะช่วยให้ครูสามารถสร้างสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่ทันสมัยและเหมาะสมกับความต้องการของนักเรียน ทำให้นักเรียนมีทักษะที่จำเป็นในการคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหา และใช้เทคโนโลยีอย่างมีประสิทธิภาพ</p> สุเทพ ภูวนัตถ์เมธา, อัจฉรา วัฒนาณรงค์, ศักดิ์ชัย นิรัญทวี, ธารินทร์ รสานนท์ Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/276334 Tue, 11 Feb 2025 00:00:00 +0700 การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้สังคมศึกษาโดยอีเลิร์นนิง (E-LEARNING) https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/279967 <p>บทความนี้นำเสนอการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้สังคมศึกษาโดยอีเลิร์นนิง ซึ่งมีแนวทางที่สำคัญ ดังนี้ 1) แบบการใช้เว็บเพื่อช่วยการเรียนการสอน 2) แบบผสมผสาน และ 3) แบบออนไลน์ การเลือกใช้เทคโนโลยีการศึกษาได้อย่างเหมาะสม การศึกษาในยุคใหม่นี้จึงจำเป็นต้องมีช่องทางในการเรียนรู้และช่องทางในการเรียนการสอนและการวัดผลออนไลน์ ที่มีความหลากหลายและมีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงความต้องการผู้เรียน วัตถุประสงค์ของรายวิชา เนื้อหาการเรียนรู้ของรายวิชา และช่องทางในการสื่อเนื้อหาการเรียนรู้ของผู้สอนไปยังผู้เรียนในทุกแพลตฟอร์ม และทุกรูปแบบการเรียนรู้เพื่อให้ตรงกับวัตถุประสงค์ในการกำหนดเงื่อนไขประมวลผลของรายวิชา เงื่อนไขการเรียนรู้ของหลักสูตร และเพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนทั้งในชั้นเรียน และในรูปแบบออนไลน์ให้มีประสิทธิภาพตอบโจทย์การศึกษายุคใหม่ ตรงกับความต้องการของผู้เรียน สื่อองค์ความรู้ของผู้สอนได้อย่างครอบคลุม</p> พระสมุห์วงษ์ทอง สุภทฺโท ต่อมคำ, พระสมุห์สุทธิศักดิ์ สมฺปณฺณเมธี คงมาก, พระพัฒนพล สิริสุวณฺโณ เพ็ชรไชย, ศิวเดชน์ สมโคตร Copyright (c) 2025 วารสาร​ มจร​ อุบลปริทรรศน์ https://so06.tci-thaijo.org/index.php/mcjou/article/view/279967 Tue, 11 Feb 2025 00:00:00 +0700