@article{Wongpromma_2020, title={จ่าแซม : การสื่อสารความทรงจำร่วมในสื่ออิเล็กทรอนิกส์}, volume={27}, url={https://so06.tci-thaijo.org/index.php/panya-thjo/article/view/238181}, abstractNote={<p>บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลวิธีทางภาษาที่ใช้สื่อสารความทรงจำร่วมเพื่อสื่อความหมายจ่าแซมในสื่ออิเล็กทรอนิกส์ประเภทข่าวออนไลน์และบทเพลง จำนวน 30 ตัวบท (Text) โดยมีกลุ่มข้อมูลหรือตัวบทที่ใช้ศึกษา 3 กลุ่มข้อมูล คือ 1) ข่าวการสร้างอนุสรณ์สถานของจ่าแซมในข่าวออนไลน์ 2) ข่าวสิ่งประดิษฐ์แคปซูลจ่าแซม 3)บทเพลงวีรบุรุษจ่าแซม ทั้งนี้ กลุ่มข้อมูลตัวบทดังกล่าวจำแนกวัตถุประสงค์ของการสื่อสารเป็น 2 ประเภท คือ 1) สารประเภทให้ข้อมูล ได้แก่ ข่าวการสร้างอนุสรณ์สถานของจ่าแซมในข่าวออนไลน์ ข่าวสิ่งประดิษฐ์แคปซูลจ่าแซม 2) สารประเภทจรรโลงใจ ได้แก่ บทเพลงวีรบุรุษจ่าแซม และผลการศึกษาพบว่า กลวิธีทางภาษาที่ใช้สื่อสารความทรงจำร่วมเพื่อสื่อความหมายจ่าแซมมีกลวิธีทางภาษา 3 กลวิธี ดังนี้ 1) กลวิธีทางศัพท์ ประกอบด้วย 1.1)การสื่อความหมายความทรงจำนัยตรง 1.2)การตั้งชื่อเพื่อสื่อความหมายอนุสรณ์ 1.3)การใช้คำที่มีความหมายเชิงบวก ประกอบด้วย การใช้คำระบุลักษณะคุณลักษณะที่พึงประสงค์ คำที่สื่อความหมายถึงการสรรเสริญ 2) กลวิธีทางวัจนปฏิบัติศาสตร์ ประกอบด้วย 2.1)การใช้วัจนกรรมแสดงความรู้สึก 2.2)การใช้วัจนกรรมบอกข้อเท็จจริง ประกอบด้วย การใช้วัจนกรรมบอกข้อเท็จจริงของภาครัฐ การใช้วัจนกรรมบอกข้อเท็จจริงของภาคเอกชน 3) การใช้ประเพณี</p>}, number={1}, journal={ปัญญา}, author={Wongpromma, Phra Raphin}, year={2020}, month={มิ.ย.}, pages={127–136} }