นาฏกรรมจำนรรจ์ : นัยวาทกรรม สภาวธรรมชาติ และปรัชญาชีวิต

Main Article Content

บุณยเสนอ ตรีวิเศษ

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์สารัตถะเชิงวาทกรรมในหนังสือรวมบทกวีนิพนธ์เรื่อง นาฏกรรมจำนรรจ์ ของ ศิวกานท์ ปทุมสูติ ซึ่งเป็นกวีนิพนธ์ฉันทลักษณ์ไทยจำนวน 749 บท วิธีการวิจัยในครั้งนี้มุ่งวิเคราะห์ ตีความบทกวีโดยใช้แนวคิดวาทกรรมของ Foucault (1970, 1980) นำเสนอผลการวิจัยแบบพรรณนาวิเคราะห์ ผลการศึกษาพบสารัตถะเชิงวาทกรรม 3 ประการ ได้แก่ 1) “ความเปล่าไร้” ใน “ความมีอยู่” 2) “ความมีอยู่” ใน “ความเปล่าไร้” และ 3) พลิกด้าน โบยบินสู่อิสระ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

ภาษาไทย

ธงชัย สมบูรณ์. 2564. ยุคมืดของสังคมไทย ความหดหู่ใจที่ไม่เคยเห็น. ค้นเมื่อ 19 พฤษภาคม 2564, จาก https://www.matichon.co.th/article/news_2913492.

นพพร ประชากุล. 2552. ยอกอักษร ย้อนความคิด เล่ม 2. กรุงเทพฯ: วิภาษา.

บุณย์เสนอ ตรีวิเศษ. 2562. “ด้วยก้าวของเราเอง : พบการเดินทางภายนอกและภายในเรียนรู้ปลดปล่อยพันธนาการสู่จิตวิญญาณอิสระ.” วารสารวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ 14 (1): 143-161.

บุณยเสนอ ตรีวิเศษ. 2563. “วาทกรรมการศึกษาในงานประพันธ์ของศิวกานท์ปทุมสูติ.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต 16 (1): 9-28.

พันธุ์ทิพย์. 2559. บทกวีคืออะไร. ค้นเมื่อ 25 พฤษภาคม 2565, จาก https://pantip.com /topic/34779062.

วิทยากร เชียงกูล. 2559. บทกวีดีเด่นของโลก : แด่ชีวิตและความรัก. กรุงเทพฯ: มูลนิธิเพื่อนหนังสือ.

วิวัฒน์ชัย อัตถากร. 2564. ยำใหญ่ 'ระบอบประยุทธ์' ผูกขาดทุน ทำประเทศล้มเหลว. ค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2564, จาก https://www.thaipost.net/politicsnews/9939/.

ศิวกานท์ ปทุมสูติ. 2565. นาฏกรรมจำนรรจ์. กรุงเทพฯ: ผจญภัยสำนักพิมพ์.

อานันท์ กาญจนพันธุ์. 2552. คิดอย่างมิเชล ฟูโกต์ คิดอย่างวิพากษ์. เชียงใหม่: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ภาษาต่างประเทศ

Barthes, R. 1993. Mythologies. London: Cox & Wymand.

Foucault, M. 1970. The Order of things : An Arehaeology of The Human Science. London: Tavistock Publications.

Foucault, M. 1980. Power/Knowledge: Selected Interviews and Other Writings, 1982-1977. Brighton, Sussex: Harvestor Press.

Triwiset, B. 2019. “Way of Chakra: Travel to view the external world to refine the internal world.” Wiwitwannasan Journal of Language and Culture 1 (3): 131–145.