การศึกษากลวิธีทางภาษาของ “ชัชชาติ สิทธิพันธุ์” ในการหาเสียงรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครผ่านสื่อออนไลน์
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากลวิธีทางภาษาของ “ชัชชาติ สิทธิพันธุ์” ในการหาเสียงรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครผ่านสื่อออนไลน์ ซึ่งมี 3 ช่องทาง ได้แก่ เฟซบุ๊ก (Facebook) “ชัชชาติ สิทธิพันธุ์” ยูทูบ (Youtube) จากช่อง 3PlusNews ช่อง THE STANDARD และช่อง Jomquan และติ๊กต็อก (Tiktok) “@chadchartandfriends” (เพื่อนชัชชาติ) ผลการศึกษาพบว่า กลวิธีทางภาษาที่ปรากฏมีทั้งสิ้น 12 กลวิธี สามารถเรียงลำดับความถี่ที่พบจากมากไปน้อย ได้แก่ การใช้ทัศนภาวะ ร้อยละ 25.46 การใช้ภาษาต่างประเทศ ร้อยละ 17.87 การใช้ภาษาแบบกันเอง ร้อยละ 16.36 การเลือกใช้คำศัพท์ ร้อยละ 14.17 การใช้คำย่อของชื่อเฉพาะ ร้อยละ 9.19 การใช้นามนัย ร้อยละ 4.55 การกล่าวซ้ำ ร้อยละ 3.88 การใช้คำเรียกเครือญาติ ร้อยละ 2.70 การใช้มูลบท ร้อยละ 2.28 การใช้อุปลักษณ์ ร้อยละ 1.35 การอ้างถึง ร้อยละ 1.26 และการกล่าวอ้าง ร้อยละ 0.93 ตามลำดับ
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสาร “ภาษาไทยและวัฒนธรรมไทย” ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง กองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยหรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ใน “วารสารภาษาไทยและวัฒนธรรมไทย” ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร “ภาษาไทยและวัฒนธรรมไทย” หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจาก “วารสารภาษาไทยและวัฒนธรรมไทย” ก่อนเท่านั้น
References
ชัชชาติ สิทธิพันธุ์. 2565ก. One day with Chadchat – หนึ่งวันกับชัชชาติ. (Online). https://fb.watch/iHsdjHdGNk/?mibextid=v7YzmG , 27 สิงหาคม 2565.
. 2565ข. เสียงของคนกรุงเทพฯ เสียงของพวกเราทุกคน. (Online). https://fb.watch/iHseHjepsX/?mibextid=v7YzmG, 27 สิงหาคม 2565.
. 2565ค. ซอยลับกับปัญหาไม่ลับ ณ พหลโยธิน46. (Online). https://fb.watch/f9DqUQ3QjT/, 27 สิงหาคม 2565.
ชิษณุพงศ์ อินทรเกษม. 2559. “กลวิธีทางภาษาในการนำเสนอความคิดเกี่ยวกับ “การศึกษา” และ “การเรียนกวดวิชา” ในวาทกรรมโฆษณาสถาบันกวดวิชา.” วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. 6(2): 98-110.
ชิษณุพงศ์ อินทรเกษม. 2562. กลวิธีทางภาษาในการนำเสนอความคิด “ผู้ชาย-ผู้หญิง” ในค่าวคำสอนพ่อบ้านแม่บ้านล้านนา. การประชุมวิชาการระดับชาติ ธีรทัศน์เชิงมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์และศิลปกรรมศาสตร์ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ความรัก ความตายและอำนาจในบริบทสังคมร่วมสมัย. หน้า 95-107.
ณัฐพร พานโพธิ์ทอง. 2550. “จาก “เจ้าพ่ออ่างทองคำ” สู่ “คนชนชั้นธรรมดาที่กล้าแฉ”: กลวิธีทางภาษากับการนำเสนออัตลักษณ์ของชูวิทย์ กมลวิศิษฏ์ ในวาทกรรมการหาเสียงเลือกตั้ง.” วารสารภาษาและวรรณคดีไทย. 24: 271-296.
ดีอนา คาซา. 2557. การวิเคราะห์วาทกรรมเชิงวิพากษ์เกี่ยวกับอัตลักษณ์ความเป็นเกาหลีในนิตยสารบันเทิงเกาหลีที่ตีพิมพ์เป็นภาษาไทย. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์เพื่อการสื่อสาร, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ทินวัฒน์ สร้อยกุดเรือ, วิไลศักดิ์ กิ่งคำ และวิภาวรรณ อยู่เย็น. 2556. “ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับอัตลักษณ์เมียฝรั่ง ในนวนิยายเรื่อง ข้าวนอกนา.” วารสารคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 30(3): 131-156.
ธัญวลัย. 2563. รู้หรือไม่? คำไทยที่เรามักใช้ผิดไม่ได้มีแค่…คะ ค่ะ. (Online). https://www.tunwalai.com/blog/341#:~:text=นะคะ%20เป็นต้น-,วะ%20-%20ว่ะ,ไม้เอกให้นางนะจ๊ะ, 30 เมษายน 2566.
ธีระ บุษบกแก้ว. 2553. กลวิธีทางภาษากับการนำเสนออัตลักษณ์ของตนเองโดยกลุ่ม “เกย์ออนไลน์.” วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาภาษาไทย, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นพวรรณ เมืองแก้ว, และคณะ. 2563. “กลวิธีทางภาษาในเพลงพูดที่แสดงอัตลักษณ์ของคนไทยถิ่นใต้.” วารสารมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 17(3): 15-30.
ปาลิตา ผลประดับเพ็ชร์. 2560. “นามนัยในภาษาไทย.” วรรณวิทัศน์. 17: 188-218.
ปิติศักดิ์ บุญใส่. 2564. การนำเสนออัตลักษณ์แรปเปอร์ผ่านกลวิธีทางภาษาในการดวลแรปสดไทย. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย, มหาวิทยาลัยศิลปากร.
พรหมมินทร์ ประไพพงษ์. 2564. “ผู้หญิงข้ามเพศที่สมบูรณ์แบบ : ความสัมพันธ์ระหว่างกลวิธีทางภาษากับอัตลักษณ์ของแอน จักรพงษ์ จักราจุฑาธิบดิ์”. วรรณวิทัศน์. 21(2): 90-121.
มยุรา ปุลวามะระ. 2561. อัตลักษณ์ของ “ตุ๊ด” จากหนังสือชุดบันทึกของตุ๊ดและกว่าเจ้จะเป็นหมอ. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย, มหาวิทยาลัยศิลปากร.
มูลนิธิโครงการสารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน. ม.ป.ป. การนับญาติและการขยายการนับญาติในสังคมไทย. (Online). https://www.saranukromthai.or.th/sub/book/book.php?book=22&chap=7&page=t22-7infodetail05.html, 30 เมษายน 2566.
รักษ์ภาษาไทย. 2559. การตัดคำในภาษาไทย. (Online). https://www.facebook.com/Rakphasathai/posts/การตัดคำในภาษาไทยมีอยู่-๓-วิธี-คือ๑-ตัดข้างหน้า๒-ตัดข้างหลัง๓-ตัดตอนกลางที่มา-หล/1146725508777569/, 30 เมษายน 2566.
วราพร สารกุล. 2563. กลวิธีทางภาษากับการนำเสนออัตลักษณ์ของตุ๊ด จากไดอารี่ตุ๊ดซี่ส์ เดอะซีรีส์. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย, มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
สมคิด เลิศไพฑูรย์. 2547. “เมืองพัทยาและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษอื่น ๆ.” สารานุกรมการปกครองท้องถิ่นไทย.
@chadchartandfriends. 2565. เพื่อนชัชชาติ. (Online). https://www.tiktok.com/@chadchartandfriends?lang=th-TH, 12 สิงหาคม 2565.
PlusNews. 2565. ถ่ายทอดสด “9 ปี ตามหาผู้ว่าฯ เลือกตั้ง.” (Online). https://www.youtube.com/watch?v=miBnFxFLT-U, 12 สิงหาคม 2565.
Jomquan. 2565. คลิปเต็ม #ผู้ว่าHardTalk จอมขวัญถามเจาะผู้ว่าฯ กทม. 65. (Online). https://www.youtube.com/watch?v=JA9v-uabdbM, 12 สิงหาคม 2565.
THE STANDARD. 2565. คลิปเต็ม #TheStandardDebate ดีเบตผู้ว่าฯกทม. THE CANDIDATE BATTLE. (Online).
https://www.youtube.com/watch?v=dbbJSrBnqkc, 12 สิงหาคม 2565.
THE STANDARD TEAM. 2565. ชัชชาติทุบสถิติ ได้คะแนนสูงสุดในประวัติศาสตร์เลือกตั้งผู้ว่าฯ กทม. (Online). https://thestandard.co/chadchart-win-bangkok-gubernatorial-election-in-landslide/, 10 ตุลาคม 2565.
Wordy Guru. 2566. อักษรย่อ คืออะไร. (Online). https://www.wordyguru.com/article/อักษรย่อ-คืออะไร, 30 เมษายน 2566.