แนวทางการพัฒนาทักษะความรับผิดชอบของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 1

Main Article Content

สัมฤทธิ์ กางเพ็ง

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อปฏิบัติการพัฒนาทักษะความรับผิดชอบของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาต้น สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 1 โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม 2 วงจร ๆ ละ 1 ภาคการศึกษาในปีการศึกษา 2565 มีความคาดหวังผลจากการพัฒนา 3 ประการ คือ 1) การเปลี่ยนแปลงทั้งที่คาดหวังและไม่คาดหวังในทางที่ดีขึ้น 2) คณะผู้วิจัย ผู้ร่วมวิจัย และโรงเรียนเกิดการเรียนรู้จากการปฏิบัติงานร่วมกัน และ3) เกิดองค์ความรู้จากการปฏิบัติในบริบทเฉพาะของโรงเรียนบ้านหนองกุงวิทยาคาร มีครูเป็นผู้ร่วมวิจัย 6 คน และมีนักเรียน 53 คนเป็นกลุ่มเป้าหมายในการพัฒนา ผลการวิจัยได้ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นตามที่คาดหวัง คือ ค่าเฉลี่ยจากผลการประเมินทักษะความรับผิดชอบของนักเรียนเปรียบเทียบ 3 ระยะ คือ ระหว่างก่อนและหลังการปฏิบัติในวงจรที่ 1 และหลังการปฏิบัติวงจรที่ 2 พบว่า มีค่าที่สูงขึ้นตามลำดับ คณะผู้วิจัย ผู้ร่วมวิจัย และโรงเรียนตระหนักถึงความสำคัญของการทำงานร่วมกันแบบเป็นทีมและการจัดการเรียนรู้แบบโครงงาน และได้องค์ความรู้ที่ได้จากการปฏิบัติเรียกว่า “แนวทางการพัฒนาทักษะความรับผิดชอบของนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 1”

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2559). แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564). สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ www.bps.sueksa.go.th

เชาวลิต พันธุ์พฤกษา. (2565). รูปแบบการบริหารโรงเรียนทั้งระบบเพื่อพัฒนาคุณลักษณะความรับผิดชอบของนักเรียนระดับประถมศึกษา. วิทยานิพนธ์หลักสูตรการศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2545). ธรรมนูญชีวิต. พิมพ์ครั้งที่ 46. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์กรมศาสนา.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2551). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 16. กรุงเทพฯ: เอส. อาร์. พริ้นติ้ง แมส โปรดักส์.

พุทธทาสภิกขุ. (2549). การงานที่เป็นสุข. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ธรรมสภา.

ภิรมย์ ลี้กุล (2558). การพัฒนาตัวบ่งชี้ความรับผิดชอบต่อสังคมของโรงเรียนมัธยมศึกษา ในภาคตะวันออก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา.

วิโรจน์ สารรัตนะ. (2561). การวิจัยทางการบริหารการศึกษา: แนวคิดและแนวปฏิบัติ. (E-book). พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: ทิพย์วิสุทธิ์.

ศรชัย เกษมสุข. (2564). การพัฒนารูปแบบการเสริมสร้างวินัยในตนเองของนักเรียนโรงเรียนบางเลนวิทยา. วิทยานิพนธ์หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยคริสเตียน.

ศุภมิต ศิริโสภณภิวัฒน์. (2560). การพัฒนารูปแบบเพื่อเสริมสร้างค่านิยมด้านความรับผิดชอบ ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร). (2546). คัมภีร์วิสุทธิมรรค. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: ประยูรวงศ์พริ้นติ้ง.

สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. (2560). รายงานการวิจัย เรื่อง การศึกษาคุณธรรม จริยธรรมของผู้เรียนในสถานศึกษาสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ. กลุ่มยุทธศาสตร์การวิจัยและพัฒนา ค้นเมื่อ 20 พฤศจิกายน 2563 จาก shorturl.at/efvW8

อัครเดช อินทรสถาพร, ชูชาติ พ่วงสมจิตร์, เจริญศรี พันปี. (2565). การเสริมสร้างวินัยนักเรียนด้านความรับผิดชอบโดยการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง : กรณีศึกษาโรงเรียนอนุบาลอัจฉรา อำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา. วารสารวิทยาลัยนครราชสีมา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 16(2), 1-14.

Aydin, M. Z., & Akyol Gurler, S. (2012). Okullarda degerler egitimi: Yontemler, etkinlikler, kaynaklar [Values education in schools: Methods events, resources]. Nobel Broadcast Distribution.

Banda, M. A. E. (2017). Characteristics of a responsible person 1. Retrieved July 30, 2019 from https://bit.ly/2K5cgNQ

Bugdayci, S. (2019). Examining personal and social responsibility levels of secondary school students. Universal Journal of Educational Research, 7(1): 206-210.

Chaichanawirote U. & Vantum, C. (2017). Evaluation of Content Validity for Research Instrument. Journal of Nursing and Health Sciences. 11 (2), 105-111.

Deuren. J. V. (2014). Life skills: Responsibility – The definition. Retrieved June 14, 2019, from https://bit.ly/32pyz8f

Fidan, N., & Erden, M. (2001). Egitime giris [Introduction to education]. Alkim Publications.

Frankl, V. (2011). What characterizes responsibility? Retrieved July 30, 2019 from https://bit.ly/2LR6mSG

Gulec, S., & Yalcin, A. (2020). The value of responsibility in the point of view of the 5th grade students. International Journal of Educational Methodology, 6(1): 123-133.

Hsu, W, T., Pan, Y, H., Chou, H, S., Lee, W, P. & Lu, F, J, H. (2014). Measuring Students' Responsibility in Physical Education Instrument Development and Validation. International Journal of Sport Psychology. September 2014. DOI: 10.7352/IJSP.2014.45.487 https://bit.ly/3wy8KDG

Indeed Editorial Team. (2021). Why Is Leadership Training Important? Indeed Career Guide. Retrieved March 27, 2022, from https://www.indeed.com/career-advice/career-development/why-is-leadership-training-important

Ivy. (2009). How do you describe a responsible person? Retrieved July 24, 2019 from https://bit.ly/2GppMJW

Learning To GIVE. (n. d.). Steps to responsibility. Retrieved August 24, 2020, from https://bit.ly/2ExV1V3

León-del-Barco, B., Mendo-Lázaro, S., Felipe-Castaño, E., Fajardo-Bullón, F. & Iglesias-Gallego, D. (2018) . Measuring Responsibility and Cooperation in Learning Teams in the University Setting: Validation of a Questionnaire. Published online 2018 Mar 13. doi: 10.3389/fpsyg.2018.00326

Li, W.,Wright, P. M.,Rukavina, P. B.,& Pickering, M. (2008). Measuring Students’ Perceptions of Personal and Social Responsibility and the Relationship to Intrinsic Motivation in Urban Physical Education. Journal of Teaching in Physical Education 27(2):167-178 • April 2008. DOI: 10.1123/jtpe.27.2.167

Lifehack (n. d.). Five tips on how to be a more responsible person. Retrieved August 24, 2020, from https://bit.ly/2YrdJFi

Los Banos Junior High School (2020). Seven steps of highly responsible students. Retrieved August 24, 2020, from https://bit.ly/32qyIJA

Lunenburg, Fred C. and Ornstein, Allan C. (2000). Educational Administration: Concepts and Practices. 3rd ed. New York: Maple-VailBook.

MBA Research. (n.d.). What is responsible behavior? Retrieved July 24, 2019 from https://bit.ly/30RGSrQ

McTaggart, R. (2010). Participatory action research or change and development. Townsville, Australia: James Cook University.

Mergler, Amanda, G., Spencer, Fiona, H., Patton & Wendy A. (2007). Development of a Measure of Personal Responsibility for Adolescents. Retrieved July 8, 2020 from https://bit.ly/2D94l0V

Mills, G. E. (2007). Action research: A guide for the teacher researcher. 3nd ed. New Jersey: Merrill Prentice Hall.

Okumus, E. (2010). Toplum ve ahlak egitimi [Community and moral education]. Journal of View of Education/Egitime Bakis Dergisi, 6(18): 28-32.

Polit, D. F. & Beck, C. T. (2012). Nursing research: Generating and assessing evidence for nursing practice. Philadelphia, PA: Wolters Kluwer Health / Lippincott Williams& Wilkins.

Popstoolkit (n.d.). Developing a responsibility assignment matrix. Retrieved August 24, 2020, from https://bit.ly/31q3BhY

Reference Website. (2019). What are examples of responsibility? Retrieved July 24, 2019 from https://bit.ly/32PW1vp

Rohilla, K. (2018). Why is responsibility important? Retrieved July 16, 2019 from https://bit.ly/2LmQuan

Rovinelli, R.J., & Hambleton, R.K. (1977). On the use of content specialists in the assessment of criterion-referenced test item validity. Dutch Journal of Educational Research, 2, 49-60.

Sorgius. K. (2020). Five easy steps for teaching responsibility to your kids. Retrieved August 24, 2020, from https://bit.ly/31pctU

Turner, R. & Carlson, L.A. (2003). Indexes of item-objective congruence for multidimensional items. International Journal of Testing 3(2):163-171. DOI:10.1207/S15327574IJT0302_5