การวิเคราะห์ Smiling Curve ในวิสาหกิจชุมชน: หลักฐานเชิงประจักษ์จากผู้ประกอบการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ของจังหวัดหนองคาย

Main Article Content

กิตติศักดิ์ ศรีแจ่มดี
ปังปอนด์ รักอำนวยกิจ
อัครนัย ขวัญอยู่
ธีระวัฒน์ เจริญราษฎร์
พิริยะ ผลพิรุฬห์

Abstract

แนวคิด Smiling Curves ของ Stan Shea ได้ถูกนำมาประยุกต์ใช้อธิบายอุตสาหกรรมการผลิตขนาดใหญ่ต่างๆ ทั่วโลก แต่ยังไม่เคยมีงานศึกษาไหนที่นำมาประยุกต์ใช้กับวิสาหกิจท้องถิ่นที่มีขนาดเล็กอย่างวิสาหกิจชุมชน โดยงานศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายถึงการใช้แนวคิด Smiling Curves ในวิสาหกิจชุมชนโดยใช้วิสาหกิจชุมชนหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ในจังหวัดหนองคายของประเทศไทยเป็นกรณีศึกษา จากการสำรวจวิสาหกิจชุมชนของจังหวัดหนองคายจำนวน 101 กลุ่มพบว่า การที่ผู้ประกอบการวิสาหกิจให้ความสำคัญต่อกิจกรรรมต้นน้ำอย่าการใช้ “ความคิดสร้างสรรค์” กับการออกแบบ และการพัฒนาสินค้าหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP)  พร้อมกับการสร้างกิจกรรมปลายน้ำอย่างการขยายช่องทางการตลาดจะเป็นกระบวนการสำคัญต่อการเพิ่มศักยภาพ (กำไร) ให้กับตัววิสาหกิจชุมชน  ดังนั้นหน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องควรเข้ามาให้การสนับสนุนให้เกิดกิจกรรมดังกล่าว ทั้งการช่วยเหลือทางตรงและการช่วยเหลือทางอ้อมเพื่อที่จะทำให้วิสาหกิจชุมชนมีกำไรที่สูงขึ้นนั่นเอง

Article Details

Section
Articles
Author Biographies

กิตติศักดิ์ ศรีแจ่มดี, นักศึกษาคณะพัฒนาการเศรษฐกิจ

นักวิจัยประจำศูนย์ศึกษาพัฒนาการเศรษฐกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ 118 หมู่ที่ 3 ถนนเสรีไทย แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240

ปังปอนด์ รักอำนวยกิจ

อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยถนน อังรีดูนังต์ เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330

อัครนัย ขวัญอยู่

อาจารย์ประจำคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 99 หมู่ 18 ถนนพหลโยธิน ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12121 

ธีระวัฒน์ เจริญราษฎร์

อาจารย์ประจำคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตหนองคาย เลขที่ 112 หมู่ 7 ตำบลหนองกอมเกาะ อำเภอเมือง จังหวัดหนองคาย 43000

พิริยะ ผลพิรุฬห์

ผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาพัฒนาการเศรษฐกิจ และอาจารย์ประจำคณะพัฒนาการเศรษฐกิจ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ 118 หมู่ที่ 3 ถนนเสรีไทย แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240 

References

Aggarwal, S. (2017). Smile Curve and its linkages with Global Value Chains, Journal of Economics Bibliography, 4(3): 278-286.

Islam, S. (2011). Moving up the Value Chain: How to Make the Smiling Curve Smile?: A Case Study of ICT Firm from Emerging Economy, Master Thesis, University of Gothenburg, retrieved from https://www.grin.com/document/337697.

Masahiko, A. & Haruhiko, A. (2002). Modularity: The Nature of New Industrial Architecture, Tokyo: Toyo Keizai Inc.

Rungi, A. and Prete, D. (2017). The “Smile Curve”: where Value is Added along Supply Chains. RA Economics and institutional change. Centro Studi Luca d'Agliano Development Studies Working Paper No. 428.

Shen, H. Liu, X. & Deng, K. (2016). An Elementary Theoretical Approach to the ‘Smiling Curve’ with Implications for Outsourcing Industrialisation. SSRN Electronic Journal. Available at https://www.researchgate.net/publication/314488783_An_Elementary_Theoretical_Approach_to_the_Smiling_Curvee_with_Implications_for_Outsourcing_Industrialisationn.

Shih, S. (1992). Reconstitution of Acer: Start-up, Growth and Challenge (2nd Edition) Taipei: Taibei Commonwealth Publishing (in Chinese) .

Ye, M., Meng, B., & Wei, S.J. (2015). “Measuring Smiling Curves in Global Value Chains”, IDR Discussion Paper No.530, Chiba: Institute of Development Economies.