การพัฒนาฐานความรู้อาเซียนไปใช้ส่งเสริมการเรียนการสอนอาเซียนศึกษา

Main Article Content

เยาวเรศ ภักดีจิตร

Abstract

การวิจัยเพื่อพัฒนาฐานความรู้อาเซียนไปใช้ส่งเสริมการเรียนการสอนอาเซียนศึกษามี วัตถุประสงค์ของการวิจัย 1. เพื่อพัฒนาฐานความรู้อาเซียนเพื่อส่งเสริมการเรียนการสอนอาเซียนศึกษา และ 2. เพื่อศึกษาวิธีการ และผลการใช้ฐานความรู้อาเซียนเพื่อส่งเสริมการเรียนการสอนอาเซียนศึกษาโดยมีวิธีการดำเนินการวิจัย ดังรายละเอียด ดังนี้

กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นครูผู้สอน จำนวน 5 คนและนักเรียนที่กำลังศึกษาในรายวิชาอาเซียนศึกษา ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 โรงเรียนนครสวรรค์ 1 ห้องเรียน จำนวน 40 คน โรงเรียนบรรพตพิสัยพิทยาคม 1 ห้องเรียน จำนวน 40 คน โรงเรียนไพศาลีพิทยา 1 ห้องเรียน จำนวน 40 คน และโรงเรียนอุทัยธานีวิทยาคม 1 ห้องเรียน จำนวน 40 คน และโรงเรียนหนองฉางวิทยา 1 ห้องเรียน จำนวน 40 คนทั้งสิ้น 205 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multi - Stage Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1.แบบสอบถามเกี่ยวกับหัวข้อ เนื้อหาและสิ่งที่ควรบรรจุไว้ ในฐานความรู้อาเซียน 2. แบบประเมินคุณภาพฐานความรู้อาเซียน 3. ฐานความรู้อาเซียน และ 4. แบบสอบถามความคิดเห็นวิธีการและผลการใช้ฐานความรู้อาเซียนไปใช้ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนอาเซียนศึกษา และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ผลการวิจัย

1) ได้ฐานความรู้อาเซียนไปใช้ส่งเสริมการเรียนการสอนอาเซียนศึกษา ที่เกิดจากการสำรวจความต้องการด้านเนื้อของครูผู้สอนและนักเรียน แล้วนำมาประมวลผลการสืบค้นข้อมูล การออกแบบโครงสร้าง จัดทำสคริปต์สตอรี่บอร์ดและเว็บไซต์ที่ผ่านการตรวจสอบปรับปรุงทุกขั้นตอนจนมีคุณภาพ

2) ผลการศึกษาวิธีการและผลการใช้ฐานความรู้อาเซียนไปใช้ส่งเสริมการเรียนการสอนอาเซียนศึกษาพบว่า มีการใช้งานที่สอดคล้องกันระหว่างครูผู้สอนและนักเรียน คือ วิธีการใช้ที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ใช้เป็นแหล่งศึกษาค้นคว้าสำหรับตัวท่านเองในขณะที่นักเรียนใช้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองตามความสนใจ

3.ครูมีความพึงพอใจต่อผลการใช้ฐานความรู้อาเซียนไปใช้ส่งเสริมการเรียนการสอนอาเซียนศึกษาโดย ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( \bar{X} = 4.18 , S.D = 0.64) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ปรากฏว่าด้านที่มีความพึงพอใจมีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านเนื้อหา ( \bar{X} = 4.74 , S.D = 0.37) รองลงมือคือ ด้านการจัดการเรียนการสอน( \bar{X} =4.17, S.D = 0.73) และด้านที่มีความพึงพอใจมีค่าเฉลี่ยน้อยสุด คือ ด้านรูปแบบการนำเสนอ( \bar{X} = 3.65, S.D =0.82)

4.นักเรียนมีความพึงพอใจต่อผลการใช้ฐานความรู้อาเซียนไปใช้ส่งเสริมการเรียนการสอนอาเซียนศึกษา โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( \bar{X} = 3.91, S.D = 0.75) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ปรากฏว่าด้านที่มีความพึงพอใจ 13 มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านเนื้อหา ( \bar{X} = 4.24, S.D = 0.65) รองลงมือคือ ด้านรูปแบบการนำเสนอ ( \bar{X} = 3.81,S.D = 0.75) และด้านที่มีความพึงพอใจมีค่าเฉลี่ยน้อยสุด คือ ด้านการเรียน ( \bar{X} = 3.68, S.D = 0.87)

 

Research to develop the knowledge base to promote the teaching of ASEAN, ASEAN study. Research objectives 1. ASEAN to further develop the knowledge base for teaching Asian studies. And 2. Study methods and the use of knowledge to promote teaching ASEAN ASEAN is how to conduct research. The details are as follows:

The sample used in this research. Number 5 is a teacher and students who are studying in ASEAN Studies Course. In Semester 1 Year 2556 Nakhon Sawan schools 1classroom of 40 students Banphotphisaiphittayakom school 1 class of 40 students Phaisalee school 1 classes of 40 students and Uthaiwittayakhom school 1 class of 40 students and Nongchangwittaya school 1 class of 40 students was 205 people, which is derived from multi-stage sampling. Tool used in this research were: 1. query about the topic. Content and what should be included. ASEAN in the knowledge base. 2 Quality Knowledge Base ASEAN. 3 ASEAN Knowledge Base and 4. Questionnaire method and the use of knowledge to promote ASEAN ASEAN teaching. And analyzed by frequency, percentage, mean and standard deviation.

The results of this research are :

1) Knowledge Base ASEAN to promote teaching ASEAN. The meat of the survey needs of teachers and students. Then the search process Structural design prepared script, storyboards and the website verified the quality improvement process.

2) Study methods and the use of knowledge-ASEAN to promote teaching ASEAN showed that the consistency between teachers and students is how to use the most average used as research for yourself while students used to study by themselves according to their interests.

3) Teachers are satisfied with the results of the knowledge base to promote ASEAN, ASEAN Education Teaching overall is good ( \bar{X} = 4.18, S.D = 0.64) at the high side. It appears that the side with the most satisfaction, with an average content ( \bar{X} = 4.74, S.D = 0.37) and embarked on a management course ( \bar{X} = 4.17, S.D = 0.73) and to be satisfied with an average minimum the presentation format ( \bar{X} = 3.65, S.D = 0.82).

4) The students were satisfied with the results of the use of knowledge to promote ASEAN, ASEAN Education Teaching overall is good ( \bar{X} = 3.91 ,S.D = 0.75) at the high side. It appears that the sides were satisfied with most average is the content ( \bar{X} = 4.24, S.D = 0.65) the secondary action is the presentation format ( \bar{X} = 3.81, S.D = 0.75) and with satisfaction an average minimum academic ( \bar{X} = 3.68, S.D = 0.87).

Article Details

Section
บทความวิจัย