การบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของผู้บริหารอาชีวศึกษาในสังกัดสำนักงานอาชีวศึกษาจังหวัดกาฬสินธุ์
คำสำคัญ:
การบริหาร , เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร , ผู้บริหารอาชีวศึกษา , สำนักงานอาชีวศึกษาจังหวัดกาฬสินธุ์บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อศึกษาและเปรียบเทียบการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของผู้บริหารอาชีวศึกษา ในสังกัดสำนักงานอาชีวศึกษาจังหวัดกาฬสินธุ์ ตามการประเมินของครู จำแนกตามระดับการศึกษาและประสบการณ์ในการทำงาน เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรได้แก่ครูภาครัฐ จำนวน 375 คน กลุ่มตัวอย่างใช้วิธีการแบ่งแบบชั้นภูมิ จำนวน 191 คน เครื่องมือในการเก็บข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติเชิงพรรณนาและการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า การบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของผู้บริหารอาชีวศึกษา สังกัดสำนักงานอาชีวศึกษาจังหวัดกาฬสินธุ์ ทั้งภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากและ การเปรียบเทียบผลการประเมินของครูด้านการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของผู้บริหารอาชีวศึกษาในสังกัดสำนักงานอาชีวศึกษา จำแนกตามระดับการศึกษาโดยรวมและรายด้านแตกต่างกัน และประสบการณ์ในการทำงานโดยรวมแตกต่างกันยกเว้นด้านสนับสนุนระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการจัดการไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2557). แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา (ฉบับที่ 3 ) ของประเทศไทย กระทรวงศึกษาธิการ, 2557-2559, กระทรวงศึกษาธิการ.
ธนากร ก้อนพันธ์. (2565). เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร. (สารนิพนธ์สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี).
พัทธกฤษฏิ์ สมจิตพันธโชติ. (2565). การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารสถานศึกษาในอำเภอพนมดงรัก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 3. (สารนิพนธ์ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี).
นงลักษณ์ ศิริฟัก. (2561). ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา จังหวัดกาญจนบุรี. (วิทยานิพนธ์สาขาวิชาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยศิลปากร).
วรชัย วิภูอุปรโคตร, ศิริมา บูรณะพันธ์ และสุรชัย เทียนขาว. (2562). การสร้างแรงบันดาลใจในการจัดการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์และการมีส่วนร่วมคิดของผู้เรียนในระดับบัณฑิตศึกษา. วิรัช เลิศไพฑูรย์พันธ์. (บรรณาธิการ). หนังสือประมวลบทความในการประชุมวิชาการ (Proceedings) ครั้งที่ 14 ประจำปี 2562 การสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ของผู้เรียนเพื่อสังคมที่หลากหลาย. กรุงเทพฯ : สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาร่วมกับสมาคมเครือข่ายการพัฒนาวิชาชีพอาจารย์และองค์กรระดับอุดมศึกษาแห่งประเทศไทย. 26-36.
วัฒนา เอกปมิตศิลป์. (2559).ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ.กรุงเทพฯ : โอเอสพริ้นติ้ง เฮ้าส์.
ศันสนีย์ พรมพินิจ. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างบทบาทของผู้บริหารโรงเรียนในการส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษากับประสิทธิผลของโรงเรียนโพธิสัมพันธ์พิทยาคาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18. (งานนิพนธ์ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา,มหาวิทยาลัยบูรพา).
สถาบันทดสอบการศึกษาแห่งชาติ. (2560). รายงานผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (O-NET) ปีการศึกษา2559 - 2560 : สถาบันทดสอบการศึกษาแห่งชาติ.
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (2560). แผนพัฒนาการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2560-2579 ,กระทรวงศึกษาธิการ.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579. กระทรวงศึกษาธิการ.
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2565). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ.2566 - 2570). สำนักนายกรัฐมนตรี
สำนักปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. (2559). แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 12 พ.ศ.2560 – 2564, กระทรวงศึกษาธิการ.
สิริชัย คลิ้งบัวทอง. (2564). การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดเทศบาลนครภูเก็ต. (สารนิพนธ์ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี).
สุนิสา ศรีอินทร์. (2565). การบริหารงานโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของผู้บริหารสถานศึกษาในกลุ่มโรงเรียนสหวิทยาเขตเมืองชล 2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1. (สารนิพนธ์ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี).
อรรณิกา พงษ์จินดา. (2565). การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารงานวิชาการในเครือข่ายสถานศึกษาเมือง 5 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชุมพร เขต 1. (สารนิพนธ์ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี).
อรอุษา ปุณยบุรณะ. (2559). การบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของโรงเรียนสาธิต. (วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร).
เอกราช เครือศรี. (2558). การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 32. (วิทยานิพนธ์ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา,มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์).
Best, J. (1977). Research in Education. New Jersey: Prentice Hall, Inc.1977.
Krejcie, R. V. & Morgan, D. W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), 607-610.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 Supachai Phosri, Vorachai Viphoouparakhot
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.