Factor Analysis of Citizenship Characteristics of Senior Scouts in Schools under the Office of the Basic Education Commission in the lower Northern Region
Main Article Content
Abstract
The purpose of this research was to study the factors of citizenship characteristics of the senior scouts in schools under the office of the basic education commission in the lower Northern Region. The research was carried out in two steps: 1) study the citizenship characteristics of the senior scouts in schools under the office of the basic education commission in the lower Northern Region. and 2) analysis of the factors of citizenship characteristics of senior scouts in schools under the office of the basic education commission in the lower Northern Region by quantitative research and the questionnaire was returned from the sample of 309 people, representing 99.68 percentage. The statistics used in the data analysis were percentage, mean, standard deviation, and factor analysis.
The results of the research found that: the citizenship characteristics of senior scouts consisted of 7 characteristics; morality and ethics, living in a changing society, public mind, promoting national security, learning and being a good citizen, responsibility towards self and society, and respect for the rights of others.
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เพื่อให้เป็นไปตามกฎหมายลิขสิทธิ์ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องลงลายมือชื่อในแบบฟอร์มใบมอบลิขสิทธิ์บทความ ให้แก่วารสารฯ พร้อมกับบทความต้นฉบับที่ได้แก้ไขครั้งสุดท้าย นอกจากนี้ ผู้นิพนธ์ทุกท่านต้องยืนยันว่าบทความ ต้นฉบับที่ส่งมาตีพิมพ์นั้น ได้ส่งมาตีพิมพ์เฉพาะในวารสาร วิชาการธรรม ทรรศน์ เพียงแห่งเดียวเท่านั้น หากมีการใช้ ภาพหรือตารางของผู้นิพนธ์อื่นที่ปรากฏในสิ่งตีพิมพ์อื่นมาแล้ว ผู้นิพนธ์ต้องขออนุญาตเจ้าของลิขสิทธิ์ก่อน พร้อมทั้ง แสดงหนังสือที่ได้รับการยินยอมต่อบรรณาธิการ ก่อนที่บทความจะได้รับการตีพิมพ์References
กานต์สินี สุขุมาลรังสี. (2558). แนวทางการพัฒนาการบริหารจัดการชั้นเรียนที่มุ่งเน้นการเสริมสร้างความเป็นพลเมืองคุณภาพในระบอบประชาธิปไตยของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา กรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ธัญธัช วิภัติภูมิประเทศ. (2556). ความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตยของนักศึกษามหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
ธีระดา ภิญโญ. (2555). เทคนิคการวิเคราะห์องค์ประกอบสำหรับงานวิจัย. นนทบุรี: เฟิร์นข้าหลวง พริ้นติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง.
ปริญญา เทวานฤมิตรกุล. (2555). การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์.
ศิรินาฏ เจาะจง. (2557). การศึกษาสภาพและแนวทางการบริหารการจัดกิจกรรมลูกเสือสามัญรุ่นใหญ่ ตามเกณฑ์การประเมินคุณภาพงานลูกเสือในสถานศึกษาของโรงเรียนมัธยมศึกษาในจังหวัดพิจิตร. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต). พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม.
สภานิติบัญญัติแห่งชาติ. (2558). สรุปผลการเสวนาเพื่อปฏิรูปพลเมืองสู่ความเป็นพลเมืองต้นแบบในกลุ่มเด็กและเยาวชน. กรุงเทพฯ: สภานิติบัญญัติแห่งชาติ.
สมพงษ์ จิตระดับ. (2555). คู่มือการสร้างความเป็นพลเมืองดีในสภาเด็กและเยาวชนระดับท้องถิ่น. กรุงเทพฯ: ธรรมดาเพรส.
สรรพสิทธิ์ ศรีระวรรณ. (2562). การพัฒนาแนวทางการบริหารการจัดกิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารีในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 23. (วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
สำนักการลูกเสือ ยุวกาชาดและกิจการนักเรียน. (2553). เกณฑ์การประเมินคุณภาพงานลูกเสือภายในสถานศึกษา. กรุงเทพฯ: สกสค. ลาดพร้าว.
_______. (2560). คู่มือการสอบวิชาพิเศษลูกเสือเนตรนารีสามัญรุ่นใหญ่ วิชาหน้าที่พลเมือง. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
สำนักงานพัฒนากิจการนักเรียน. (2560). หลักเกณฑ์การคัดเลือกโรงเรียนต้นแบบลูกเสือ. กรุงเทพฯ: สำนักงานพัฒนากิจการนักเรียน.
สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ. (2557). คู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรลูกเสือช่อสะอาด. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2559). จัดทำข้อเสนอเชิงนโยบายการพัฒนาการศึกษาเพื่อสร้างความเป็นพลเมือง. (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิก.
สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์. (2560). การศึกษาความเป็นพลเมืองของผู้เรียนในสถานศึกษา สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ. (รายงานการวิจัย). กรุงเทพฯ: สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์.
สุภาพร จตุรภัทร. (2556). ยุทธศาสตร์การพัฒนาการลูกเสือไทยเพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองดี. (วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุภีร์ สมอนา. (2558). ความเป็นพลเมืองของนักเรียนในโครงการโรงเรียนพลเมืองสถาบันพระปกเกล้า. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.