The Creative Economy Management of Local Fabric Products in Khemmarat Walking Street, Khemmarat District, Ubon Ratchathani Province

Main Article Content

Rerngsak Keawpeth

Abstract

The objectives of this research were: 1) to study the economic management condition of local fabric products in Khemmarat district, Ubon Ratchathani province; 2) to study the creative economy management of local fabric products in Khemmarat walking street; 3) to study the guidelines for creative economic management development of local fabric products in Khemmarat walking street. The tools used in collecting the data were an interview Twenty key informants were selected by purposive random sampling. and spatial operations. The data were interpreted by descriptive content analysis.
The research results were as follows:
1. In regards to the economic management condition of local fabric products, Khemmarat District, Ubon Ratchathani Province, local fabrics are woven according to woven patterns, knowledge and wisdom that have been passed down from generation to generation, and the pattern has been developed sequentially for use in daily life and on special occasions. This represents the identity that reflects the beauty of the people's art and culture, well-being that is cared for through the clothes of the people of Khemmarat District.
2. For the creative economy management, local fabric products in Khemmarat walking street have been created to be known and attractive to those who have seen it through the implementation of two main activities: (1) local cultural tourism management in Khemmarat District from the cultural identity of the community in Khemmarat District; (2) organizing Khemmarat traditional cloth fashion
3. The guidelines for developing creative economy management of local fabric products in Khemmarat walking street include preserving unique original weaving patterns, more exotic pattern designs, inheriting the wisdom of local weaving with written content of wisdom, increasing channels for inheritance through government agencies, designing of sewing local fabrics to have a variety of modern designs, increasing marketing channels both on-site and online and having homestay accommodation.

Article Details

Section
บทความวิจัย (Research Article)

References

จักรพันธ์ โสมะเกษตริน. (2551). การจัดการภูมิปัญญาท้องถิ่นศรีสะเกษเพื่อการแข่งขันอย่างยั่งยืน. กรุงเทพฯ: สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ.

นภาภรณ์ หะวานนท์ และพิสมัย รัตนโรจน์สกุล. (2548). ผลการวิจัยการเสริมสร้างทุนทางสังคมเพื่อชุมชนเข้มแข็ง. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

ประเวศ วะสี. (2530). การศึกษาชาติกับภูมิปัญญาท้องถิ่น ในการสัมมนาทางวิชาการเรื่องภูมิปัญญาชาวบ้านกับการดำเนินงานด้านวัฒนธรรมกับการพัฒนาชนบท. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.

ลักขณา ศิริจำปา. (2561). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อผ้าฝ้ายย้อมสีธรรมชาติในเขตอำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์. วารสารวิชาการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 3(6), 7-17.

วีรนันท์ พาวดี. (2558). ต้นทุนและผลตอบแทนจากผลิตภัณฑ์ผ้าทอพื้นเมืองลายภูเขาของกลุ่มเย็บผ้าบ้านสันหลวง อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่. (วิทยานิพนธ์บัญชีมหาบัณฑิต). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และศูนย์สร้างสรรค์และออกแบบ. (2552). เศรษฐกิจสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). แผนฯ 12 ฉบับประชาชนนวัตกรรมคือหัวใจของการพัฒนา. กรุงเทพฯ: สำนักนายกรัฐมนตรี.

สุธิพงษ์ สวัสดิ์ทา. (2559). รูปแบบการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาสังคมสู่ชุมชนอยู่ดีมีสุข. (ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต). เลย: มหาวิทยาลัยราชภัฎเลย.

สุมาลย์ โทมัส. (2525). ผ้าพื้นเมือง. กรุงเทพฯ: สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

อัจฉราพร ไศละสูต. (2529). ความรู้เรื่องผ้า. กรุงเทพฯ: เทคนิค.

อันธิกา ทิพย์จำนงค์. (2557). การพัฒนาตลาดผลิตภัณฑ์ผ้าทอ อำเภอกระแสสิน จังหวัดสงขลา. วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 6(12), 161-173.

อำพล นววงศ์เสถียร. (2557). พฤติกรรมการตัดสินใจของผู้บริโภคในร้านค้าออนไลน์ในกรุงเทพมหานคร. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 5(2), 134-149.