แนวทางการจัดการการศึกษาระดับขั้นพื้นฐานบนฐานคติสมรรถนะ
Main Article Content
Abstract
บทคัดย่อ
แนวทางการจัดการเรียนการสอนระดับขั้นพื้นฐานบนฐานคติสมรรถนะ เป็นการศึกษาที่มุ่งให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถขั้นพื้นฐาน การศึกษาช่วยพัฒนาศักยภาพหรือเสริมสร้างพลังที่มีอยู่ในตัวมนุษย์ทุกคน สมรรถนะของการเรียนรู้ ประกอบด้วย ๓ ด้าน ได้แก่ สมรรถนะด้านพุทธิพิสัย(Cognitive Domain) ได้แก่ ๑) จำ (Remembering) จะต้องมีความสามารถในการระลึกได้ ๒) เข้าใจ(Understanding) จะต้องมีความสามารถในการแปลความหมาย ๓) ประยุกต์ใช้ (Applying) จะต้องมีความสามารถในการนำไปใช้ประยุกต์ใช้แก้ไขปัญหา ๔) วิเคราะห์ (Analyzing) ความสามารถในการเปรียบเทียบ วิจารณ์ และ ๕) คิดสร้างสรรค์ (Creating) สมรรถนะด้านจิตพิสัย (Affective Domain)ได้แก่ ๑) การรับรู้ (Receiving) ๒) การตอบสนอง (Responding) ๓) การตีค่า (Valuing) ๔) การจัดระบบความคิด (Organizing) และ ๕) การแสดงออก (Characterizing) และสมรรถนะด้านทักษะพิสัย
(Psychomotor Domain) ได้แก่ ๑) การรับรู้ ๒) กระทำตามแบบ ๓) การหาความถูกต้อง๔) การกระทำอย่างต่อเนื่อง และ ๕) การกระทำได้อย่างเป็นธรรมชาติ
Abstract
Guidelines for the management of basic instruction on the basis of performance. It is a study aimed at providing students with basic knowledge and skills. Education promotes the potential of or empowerment in all human beings. The performance of learning consists of three aspects: Cognitive domains: 1) Remembering must have the ability to remember. 2) Understanding must be able to interpret. 3) Applying must be able to apply to solve the problem. 4) Analyzing, the ability to compare, and 5) Creating. Affective Domain: 1) Receiving 2) Responding 3) (Valuing) 4) Organizing and 5) Characterizing and Psychomotor domains include: 1) perception, 2) action, 3) determination, 4) ongoingaction, and 5) natural action.