ความเป็นครูปฐมวัยผู้มุ่งมั่น

Main Article Content

รัตนวดี รอดภิรมย์

บทคัดย่อ

ครูปฐมวัย นับเป็นบุคคลที่มีความสำคัญรองจากผู้ปกครองของเด็ก ในฐานะบุคคลผู้วางรากฐานการพัฒนาของเด็กให้เป็นไปอย่างเต็มศักยภาพ รวมถึงเป็นผู้ที่ปูพื้นฐานความรู้เชิงวิชาการแก่เด็กเป็นด่านแรก ตลอดจนเป็นแบบอย่างที่ดี อันเป็นประโยชน์ต่อชีวิตของเด็ก หากครูปฐมวัยขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเด็กปฐมวัย ขาดการอ่าน ค้นคว้าวิจัย พัฒนาตนเองทั้งในด้านความรู้และทักษะการสอน ขาดความมุ่งมั่นในการพัฒนาเด็ก ย่อมก่อให้เกิดผลเสียแก่เด็กทั้งในระยะต้นและระยะยาว รวมทั้งสร้างผลกระทบต่อสังคมในอนาคต ดังนั้นจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งในการเร่งสร้างคุณลักษณะของครูปฐมวัยให้มีความเป็นครูผู้มุ่งมั่น ด้วยเพราะคุณลักษณะความเป็นครูผู้มุ่งมั่นจะช่วยให้ครูมองเห็นประโยชน์ของสถานการณ์ต่างๆ ที่ผ่านเข้ามา และใช้สิ่งเหล่านั้นมาสร้างประโยชน์ทั้งกับตนเองและเด็ก โดยไม่ท้อแท้ท้อถอยต่ออุปสรรค และมีความพร้อมที่จะสร้างความเจริญและความสุขแก่เด็กเสมอ

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 สำหรับเด็กอายุ 3-5 ปี. กรุงเทพฯ: สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.

จิรวรรณ กาละดี. (2544). คุณสมบัติของครูปฐมวัยที่พึงประสงค์ตามพระราชบัญญัติทางการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ผู้จัดการออนไลน์. (2554). ครูปฐมวัยมีปัญหาอื้อแนะปรับตามสิ่งแวดล้อมคุณภาพชีวิต. สืบค้นเมื่อ 5 กรกฎาคม 2565, จาก http://www.manager.co.th/QOL/ViewNews.aspx?NewsID=9540000106612.

พระเทพวิสุทธิเมธี. (2529). ธรรมสำหรับครู. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ.

พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และ พเยาว์ ยินดีสุข. (2558). รู้เนื้อหาก่อน สอนเก่ง การเปลี่ยนวัฒนธรรมคุณภาพ ในศตวรรษที่ 21. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เยาวพา เดชะคุปต์. (2542). การจัดการศึกษาสำหรับเด็กปฐมวัย. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: แม็คจำกัด.

รัตนวดี รอดภิรมย์. (2559). การพัฒนายุทธศาสตร์การจัดการเรียนรู้เพื่อเสริมสร้างความเป็นครูผู้มุ่งมั่นของนักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัยปฐมวัย. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชายุทธศาสตร์การจัดการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.

รัตนา งิ้วแหลม. (2546). คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของครูปฐมวัยตามแนวทางปฏิรูปครู ในทัศนะของผู้ปกครองนักเรียนโรงเรียนสาธิตสังกัดสถาบันราชภัฏกลุ่มรัตนโกสินทร์. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542. พิมพ์ครั้งที่ 1.กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์พับลิเคชั่นส์.

ราศี ทองสวัสดิ์. (2537). เข้าใจเด็กก่อนวัยเรียน เล่ม 2. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ชมรมไทยอิสราเอล.

วัฒนา ปุญญฤทธิ์. (2542). การจัดสภาพแวดล้อมในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย. กรุงเทพฯ: สถาบันราชภัฏพระนคร.

วิทยา วาโย, อภิรดี เจริญนุกูล, ฉัตรสุดา กานกายันต์ และ จรรยา คนใหญ่. (2563). การเรียนการสอนแบบออนไลน์ภายใต้สถานการณ์แพร่ระบาดของไวรัส COVID-19: แนวคิดและการประยุกต์ใช้จัดการเรียนการสอน [Electronic version]. ศูนย์อนามัยที่ 9, 14(34), 285-298.

วิทยากร เชียงกูล. (2551). สภาวะการศึกษาไทยปี 2550/2551“ปัญหาความเสมอภาค และคุณภาพของการศึกษาไทย”. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: วี.ที.ซี.คอมมูนิวเคชั่น.

สุณี บุญพิทักษ์. (2557). วิจัยชั้นเรียนปฐมวัย: หลักปฏิบัติจากประสบการณ์. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: ปัญญาชน.

สุวรรณี ทองคำ. (2549). ตัวแปรที่สัมพันธ์กับการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ของครูปฐมวัย โรงเรียนอนุบาลเอกชนกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2542). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ 2542. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี.

สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา. (2549). เกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพครูของคุรุสภา พ.ศ. 2537. กรุงเทพฯ: คุรุสภา.

สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา. (2556). คู่มือการปฏิบัติงานการต่อใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: คุรุสภา.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2555ก). แผนยุทธศาสตร์ชาติด้านเด็กปฐมวัย (แรกเกิดถึงก่อนเข้าประถมศึกษาปีที่ 1) ตามนโยบายรัฐบาลด้านเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2555-2559. กรุงเทพฯ: พริกหวานกราฟฟิค จำกัด.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2555ข). รายงานการวิจัยเรื่อง มาตรฐานวิชาชีพครูปฐมวัย. กรุงเทพฯ: บริษัท โบนัส พรีเพรส.

Barnes, S. (2012). Making Sense of Intentional Teaching. Australia: Children’s Services Central.

Bredekamp, S. (2011). The Joy of Learning: Effective Curriculum & Assessment for Young Children. Retrieved May 10,2014, from http://eclkc.ohs.acf.hhs.gov/hslc/hs/calendar/summit/Sue_Bredekamp_OHS_Summit_Feb2011.pdf.

Commonwealth of Australia. (2009). Belonging, being and becoming: The early years learning framework for Australia. Canberra, ACT: Department of Education, Employment and Workplace Relations for the Council of Australian Governments.

Epstein, A. S. (2007). The Intentional Teacher. Choosing the best Strategies for Young Children’s Learning. Washington DC: National Association for the Education of Young Children.

Epstein, A. S. (2009). Think before you (inter)act: what it means to be an intentional teacher. Retrieved May 23, 2019, from. https://citeseerx.istpsu.edu/viewdoc/download?doi=10.1.1.476.9053&rep=rep1&type=pdf.

Maria, R. & Diana, J. (2006). A Qualitative Investigation of Primary Teachers’ Intentional Strategies for Promoting Development in Early Childhood. In Paper presented at the 37th Annual Northeast Educational Research Association Conference, October 18-20, Kerhonkson, New York.

Martin, J. (2009). Using the principles of intentional teaching to communicate effectively with parents. Exchange magazine, January/February, 53-56.